การสื่อสารในครอบครัวเพื่อป้องกันพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคมของเยาวชนไทย ในภาคกลาง
Keywords:
การสื่อสารในครอบครัว, พฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคม, เยาวชนไทยAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคมของ
เยาวชนไทยความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสถานภาพทางสังคมและปัจจัยสถานภาพครอบครัวของนักเรียนและ ของผู้ปกครองกับทัศนคติ และสาเหตุที่มีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคมของเยาวชนไทย การแก้ไข ป้องกันพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคมของเยาวชนไทย เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี ในการวิจัยเชิงปริมาณ ทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และผู้ปกครอง ของ 4 โรงเรยีนในจงัหวดัภาคกลาง ไดแ้ก่ จงัหวดัชยันาท สมทุรปราการ สมทุรสงคราม และกรงุเทพมหานคร
จำนวนประเภทละ 400 คน โดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน ความแปรปรวนแบบหลายทาง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ส่วนการวิจัย
เชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ด้วยแบบสัมภาษณ์และสนทนากลุ่มกับผู้ปกครอง วิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพด้วยการจัดหมวดหมู่และการวิเคราะห์เนื้อหาแบบอุปนัย ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนและ
ผู้ปกครองมีทัศนคติเกี่ยวกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคมของเยาวชนไทยอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ปัจจัย สถานภาพทางสังคมของนักเรียนและของผู้ปกครองหลายปัจจัย มีอิทธิพลร่วมและมีความสัมพันธ์ทางบวกใน ขนาดน้อยกับทัศนคติ ปัจจัยสถานภาพครอบครัวทุกด้านมีผลต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคม และสาเหตุ ของพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคม ได้แก่ ครอบครัว เยาวชน สภาพแวดล้อม และสื่อ ส่วนการป้องกันควร พัฒนาการสื่อสารที่ดีในครอบครัวทั้งการสื่อสารเชิงวัจนภาษาและเชิงอวัจนภาษา จากผลการวิจัยได้ผลิต หนังสือการ์ตูนที่ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญเพื่อใช้รณรงค์ป้องกันพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคมของ เยาวชนไทยอีกด้วย
References
Rearing Practices and Assertive Behaviors of Senior High School Students. (Master’s thesis). Chiang Mai University, Chiang Mai. (in Thai) Matchima, P., Pantrakul, S. & Poeakong, K. (2011). The Community Participation Model in the Protection and Solutions of the Online Game that Effected to Thai’s Youth :
A Case Study of the Seeham Community, Bangkok. SDU Research Journal Humanities and Social Sciences, 7(2), 77-88. (in Thai) Phonchai, B. (2012). Sexual Behavior among Grade 11 Students in a Secondary School in Nakhon Phanom Municipality. The Journal of Prapokklao Hospital Clinical Medical Education Center, 28(4), 230-237. (in Thai) Rattanadamrongaksorn, R. (1997). Family Background, Socialization and Exposure to Investigative Reporting TV programs of Children and Juvenile with Devient Behavior. (Master’s thesis). Chulalongkorn University, Bangkok. (in Thai)
181
SDU Res. J. 12 (3): Sep-Dec 2016 Family Communication for Socially Deviant Behaviors Protection of Thai Youth in the Central Region
Somchai, A. (2010). Ministry of Social Development and Human Security concern Youths use Fault Technology. Retieved December 15, 2013, from http://wvvw.
m-society.go.th/ewt_ news. php?nid=5202. (in Thai) Tumnanchit, B. (2010). The Study of Information and Communication Technology (ICT) Usage Behaviors among Students at Saundusit Rajabhat University. SDU Research Journal Humanities and Social Sciences, 5(2), 21-36. (in Thai) Visalo, P. (2012). Ask for Children Place. Retrieved October 15, 2015, from http:// www.visalo.org/peaceChildDay54.htm. (in Thai) Wichairam, N. (2003). A Study of Factors Determining Risk Behaviors Lead to Premarital Sexual Relations among the High School Students, Muang District, Buriram Province. (Master’s thesis). Silpakorn University, Nakornpathom. (in Thai) Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. NewYork: Harper and Row Publication.