การขับเคลื่อนงานพัฒนาบนฐานปฏิสัมพันธ์ของอาสาสมัครชุมชน

Authors

  • ดนุสรณ์ กาญจนวงศ์
  • สันติ ศรีสวนแตง
  • วีรฉัตร์ สุปัญโญ

Keywords:

ปฏิสัมพันธ์, อาสาสมัครชุมชน, การขับเคลื่อนงานพัฒนา

Abstract

 

งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทการปฏิบัติงานและสังเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ของอาสาสมัคร ชุมชนในงานพัฒนาชุมชน เพื่อเสนอแนวทางขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนบนฐานปฏิสัมพันธ์ของอาสาสมัคร ชุมชน ศึกษากรณี ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม งานวิจัยมี 2 ระยะ (1) ศึกษาบริบทการปฏิบัติงาน และสังเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ของอาสาสมัครชุมชนจากเอกสาร และสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก 35 คน วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) ขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชนด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ประกอบด้วย ขั้นวางแผน สนทนากลุ่มระหว่างอาสาสมัครชุมชนและผู้วิจัย รวม 10 คน ขั้นปฏิบัติและ ประเมิน ขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนกับสมาชิกชุมชน 71 คน วัดความรู้ก่อน–หลังกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติพื้นฐานและการสังเกต ขั้นสะท้อนผลโดยผู้มีส่วนร่วมจำนวน 10 คน ผลวิจัยพบว่า บริบทตำบล ศาลายามีสภาพกึ่งเมืองกึ่งชนบทการปฏิบัติงานของอาสาสมัครชุมชนมีลักษณะพหุบทบาท ปฏิสัมพันธ์ของ อาสาสมัครชุมชนเกิดจากหน้าที่และความเป็นเครือญาติ ซึ่งร่วมกันขับเคลื่อนงานพัฒนา

References

กฤช เพิ่มทันจิตต์. (2536). ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเกิดเป็นเมือง. กรุงเทพฯ: ครีเอทีฟ
พับลิชชิ่ง.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2544). ชุมชนนิยม: ฝ่าวิกฤตชุมชนล่มสลาย. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.
ขนิษฐา นันทบุตร และคณะ. (2550). โครงการศึกษาตัวแบบการมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพ
ระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบลและกองทุนสุขภาพชุมชนพื้นที่
นำร่อง 7 พื้นที่: กรณีกองทุนสุขภาพตำบลบุ่งคล้า อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์. ขอนแก่น:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชวลิต สวัสดิ์ผล และคณะ. (2558). สังคมไทยร่วมสมัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: URAI GRAPHIC.
ประชาชาติธุรกิจ. (2557). เศรษฐกิจภูมิภาค “ศาลายา” แหล่งลงทุนใหม่ ค้าปลีกยึด-จัดสรรพรึ่บ 100
โครงการ. สืบค้น 15 สิงหาคม 2557, จาก http://www.prachachat.net/news_
detail.php?newsid= 1408084831.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2540). แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่แปด พ.ศ.2540-2544. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ.
เทศบาลตำบลศาลายา. (2557). ที่ตั้งและติดต่อสำนักงาน. สืบค้น 25 ธันวาคม 2557, จาก http://www.
salaya. go.th/ index.php/ข้อมูลพื้นฐาน/ที่ตั้งสำนักงาน.
รัตนะ บัวสนธ์ และคณะ. (2541). บทบาทของสถาบันหลักและปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการเปลี่ยนแปลงของชุมชนบ้านหนองหัวยาง. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วิติยา ปิดตังนาโพธิ์. (2555). โครงการผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองมหาวิทยาลัยต่อการเปลี่ยนแปลง
พื้นที่ชุมชนโดยรอบ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก:
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สำนักงานเกษตรอำเภอพุทธมณฑล. (2555). แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ตำบลศาลายา อำเภอ
พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. นครปฐม: ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำ
ตำบลศาลายา.
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ. (2554). ทำเนียบอาสาสมัครประเภท
ต่าง ๆ ของส่วนราชการและเอกชน ประจำปี 2554. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครปฐม. (2553, มกราคม 14-15). การกำหนด FAR กรณีผังเมือง
รวมชุมชนพุทธมณฑล จ.นครปฐม. ใน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครปฐม
(ประธาน), การกำหนด FAR กรณีผังเมืองรวมชุมชนพุทธมณฑล จ.นครปฐม. การจัดประชุม
โดย สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครปฐม, ห้องประชุม 41501 กรมโยธาธิการ
และผังเมือง.
สำนักนโยบายและแผน สป. กระทรวงมหาดไทย. (2556). แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2556-
2561. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและแผน สป. กระทรวงมหาดไทย.
สำนักงบประมาณ. (2556). โครงการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เชิงรุก.
กรุงเทพฯ: สำนักงบประมาณ.
สนธยา พลศรี. (2547). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สนธยา พลศรี. (2548). เครือข่ายการเรียนรู้ในงานพัฒนาชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
องค์การบริหารส่วนตำบลศาลายา. (2557). ข้อมูลพื้นฐานสภาพทั่วไป. สืบค้น 4 มีนาคม 2557,
จาก http://obt-salaya.go.th/salaya_general.php.
Turner, S.P. (1983). Weber on Action, American Sociological Review, 48(4): 506-519.
Hirsch, W. Z. (1973). Urban Economic Analysis. New York: MCGraw-Hill Book Company.
Translated Thai References
Buosonte, R. et al. (1998). The role of the main institutions and the interaction between
the factors involved in the transformation of Ban Nong Hua Yang community.
Phitsanulok: Naresuan University. (in Thai)
Bureau of the Budget. (2013). Proactive Village Health Volunteer Project. Bangkok: Bureau
of the Budget. (in Thai)
Charoenwongsak, K. (2001). Communitarian: Go Through Community-Collapse Crisis.
Bangkok: Success Media. (in Thai)
Nakhon Pathom Office of Public Works and Town & Country Planning. (2010, January
14-15). FAR determination; A case of Budhamonthon principle city plan.
In Nakhon Pathom Office of Public Works and Town & Country Planning (Chair),
FAR determination; A case of Budhamonthon principle city plan. Organized by
Nakhon Pathom Office of Public Works and Town & Country Planning, conference
room 41501, Department of Public Works and Town & Country Planning. (in Thai)
Nantabut, k. et al. (2007). A participatory model in community health insurance between
public funds. Sub-District Administrative Organization and Community Health
Fund in 7 Pilot Areas: A Case Study of Bung-Kla Sub-District Health Fund, Lom
Sak District, Phetchabun Province. Khon Kaen: Khon Kaen University.
(in Thai)
Office of Policy and Planning, Ministry of Interior. (2013). Strategic Planning of the Ministry
of Interior 2013-2018. Bangkok: Office of Permanent Secretary for Interior, Ministry
of Interior. (in Thai)
Office of the National Economics and Social Development Board. (1997). The 8th
Economic and Social Development Plan (1997-2001). Bangkok: Office of the
National Economics and Social Development Board. (in Thai)
Office of the National Social Welfare Promotion Commission. (2011). Lists of various types
of volunteers in public and private organizations. Annual Report 2011. Bangkok:
Office of the National Social Welfare Promotion Commission, the Ministry of
Social Development and Human Security. (in Thai)
Phutthamonthon District Agricultural Extension Office. (2012). Agricultural development
plan at district level Salaya Sub-District, Phutthamanthon District, Nakhon
Pathom Province. Nakhon Pathom: Salaya Agricultural Technology Teaching and
Service Center. (in Thai)
Phoemthanchit, K. (1993). Theories and concepts of urbanization process. Bangkok:
Creative Publishing. (in Thai)
Pittungnapoo, W. (2012). Impacts of university towns on land use in surrounding areas: a
case study of Naresuan University, Phitsanulok, Thailand. Phitsanulok: Faculty of
Architecture Naresuan University. (in Thai)
Polsri, S. (2004). Theories and Principles of Community Development (5th ed.). Bangkok:
Odean Store. (in Thai)
Polsri, S. (2005). Learning network in community Development Work (2nd ed.). Bangkok:
Odean Store. (in Thai)
Prachachat business. (2014). Local economic: “Salaya” New investment area, retail
occupy-100 housing estate project. Retrieved August 15, 2014, from
http://www.prachachat.net/news_detail.php? newsid=1408084831 (in Thai)
Salaya Sub-district Municipality. (2014). Office location and contact. Retrieved December
25, 2014, from http://www.salaya.go.th/index.php/. (in Thai)
Salaya Sub-district Administrative Organization. (2012). Basic information of the generality.
Retrieved March 4, 2014, from http://obt-salaya.go.th/salaya_general.php.
(in Thai)
Sawatdipol, C. et al. (2015). Contemporary Thai society (2nd ed.). Bangkok: Urai Graphic.
(in Thai)

Downloads

Published

2018-04-02

How to Cite

กาญจนวงศ์ ด., ศรีสวนแตง ส., & สุปัญโญ ว. (2018). การขับเคลื่อนงานพัฒนาบนฐานปฏิสัมพันธ์ของอาสาสมัครชุมชน. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 14(1), 133–146. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/186404

Issue

Section

Original Articles