การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์แบบสองภาษาในโรงเรียนเขตกรุงเทพมหานคร
Keywords:
การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์แบบสองภาษา, โรงเรียนเขตกรุงเทพมหานครAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์แบบสองภาษาใน
โรงเรียนเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้สอนคณิตศาสตร์ จำนวน 52 คน
และนักเรียน จำนวน 202 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในงานวิจัย คือ ค่าความถี่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการศึกษาการจัดการเรียนการสอน พบว่า 1) ในการเตรียม
การเรียนการสอน ครูส่วนใหญ่จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เองโดยจัดทำภาคเรียนละ 1 ครั้ง และทำก่อน
เปิดภาคเรียน เพื่อใช้เป็นแนวการสอนโดยให้ความสำคัญกับองค์ประกอบเรื่อง หัวข้อเรื่องและกิจกรรม
การเรียนการสอน ส่วนการเตรียมการสอนในแต่ละครั้งนั้นจะใช้ระยะเวลามากกว่า 1 ชั่วโมง 2) ในการดำเนิน
การเรียนการสอน ครูส่วนใหญ่จะตรวจสอบพื้นฐานความรู้เดิมของนักเรียนก่อนสอนโดยใช้แบบทดสอบ
ก่อนเรียนและการถาม-ตอบ และมักจะใช้การตั้งคำถามเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน วิธีที่นิยมใช้สอน คือ
แบบบรรยายและแสดงเหตุผล และทักษะที่ได้ปฏิบัติบ่อย คือ การใช้คำถาม ส่วนเทคนิคและวิธีการสอน
ที่นิยม คือ การยกตัวอย่างแล้วให้นักเรียนสรุปเป็นกฎเกณฑ์ สำหรับการสรุปบทเรียนนั้นจะมีการสรุปเมื่อ
สอนจบ โดยส่วนใหญ่ให้นักเรียนเป็นผู้สรุปเนื้อหา แล้วครูสรุปเพื่ออธิบายอีกครั้ง ครูมักจะให้นักเรียน
ฝึกทักษะคณิตศาสตร์โดยทำแบบฝึกหัดในหนังสือเรียน และครูส่วนใหญ่จะเตรียมสื่อการสอนด้วยตนเอง
สื่อการสอนที่นิยมนำมาใช้ คือ หนังสือเรียน เพราะตรงกับจุดประสงค์ และเหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรม
การเรียนรู้ และ 3) ในการวัดผลและประเมินผล ครูจะดำเนินการตลอดเวลาในการเรียนการสอนทั้ง
ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน โดยการตรวจแบบฝึกหัด นอกจากนั้น พบว่า ปัญหาในการจัดการเรียน
การสอนคณิตศาสตร์แบบสองภาษา ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของพื้นฐานความรู้ภาษาอังกฤษของครูและนักเรียน
แนวทางในการแก้ปัญหา คือ ควรมีการจัดอบรมและวัดความรู้ด้านภาษาอังกฤษเป็นระยะ รวมทั้งการมี
พี่เลี้ยงที่อาจจะเป็นครูต่างชาติหรือครูไทยก็ได้ แต่อย่างไรก็ตามผลการสำรวจความพึงพอใจต่อการจัด
การเรียนการสอนของนักเรียนในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก
References
Stage, 3 Studying of the English Program in Phitsanulok. (Master’s thesis).
Naresuan University, Phitsanulok. (in Thai)
Education First. (2011). EF EPI English Proficiency Index (Report). Education First.
. (2014). EF EPI English Proficiency Index (Report). Education First.
EIS Association of Thailand. (2013). EIS Report. Rayong. (in Thai)
Intajak, L. (1995). Teaching Professional Experience Training. Bangkok: Srinakharinwirot
University. (in Thai)
Kaewsrimon, S. (1998). A Study of Instructional Behaviors of the Teachers Who Taught
Mathematics at Prathom Suksa I in Phipoon district, Nakhon Si Thammarat
Province. (Master’s thesis). Sukhothai Thammathirat Open University, Nonthaburi.
(in Thai)
Keawkong, P. (2005). A Model of Causal Relationships of Variables Effecting Mathematics
Achievement of Mathayomsuksa I students in Yala Province. (Master’s thesis).
Thaksin University, Songkla. (in Thai)
Li, Y. & Wang, L. (2010). A Survey on Bilingual Teaching in Higher Education Institute in the
Northeast of China. Journal of Language Teaching and Research, 1(4), 353-357.
Lim, C. S. & Presmeg, N. (2011). Teaching Mathematics in Two Languages: a Teaching
Dilemma of Malaysian Chinese Primary Schools. International Journal of Science
and Mathematics Education, 9(1), 137-161.
Naebphutsa, P. (2007). A Study of Instructional Process in Mathematics of Teachers at the
English Program School in Nakhon Rachasima. (Master’s thesis). Nakhon
Rachasima Rajabhat University, Nakhon Rachasima. (in Thai)
National Institute of Educational Testing Service (Public Organization). (2014). Ordinary
National Educational Testing (O-NET) Report. Retrieved May 20, 2015, from http://
www.onetresult.niets.or.th/ AnnouncementWeb/Notice/FrBasicStat.aspx. (in Thai)
Ngamsom, S. (2006). A New Model for Bilingual Education: English for Integrated Studies
Curriculum, a Case Study of Sunthonphu Pittaya Secondary School. Rayong:
Sunthonphu Pittaya Secondary School. (in Thai)
Pangpa, N. (1996). Conditions of Prathom Suksa 6 Mathematics Teaching in High and Low
Mathematics Achievement School under the Office of Phop Phra Distrit Primary
Education, Tak province. (Master’s thesis). Chiang Mai University, Chiang Mai.
(in Thai)
Pattanawong, W. (2009). The Entreperneurial Model of Bilingual Schools in Thailand.
(Doctor’s dissertation). Silpakorn University, Bangkok. (in Thai)
Phanthusida, W. (1989). The Implementation of Basic Skills Development Area :
Mathematics, according to the Elementary School Curriculum B.E.2521 in the
Elementary Schools under the Jurisdiction of the Office of Chachoengsao
Provincial Primary Education. (Master’s thesis). Chulalongkorn University,
Bangkok. (in Thai)
Pummali, C. (2006). The Effect of Variables on Mathematics Achievement of Mathayom
Suksa II Students in Sisaket office Education Service Area 4. (Master’s thesis).
Ubon Ratchathani Rajabhat University, Ubon Ratchathani. (in Thai)
Skulphanarak, C. (2009). A Model of Thailand English Program School Administration.
(Doctor’s dissertation). Silpakorn University, Bangkok. (in Thai)
Thawai, P. (2014). A Study of English Vocabulary Achievement and Retention of
Prathomsuksa Five Students at Elementary Demonstration School of
Bansomdejchaopraya Rajabhat University by Using Reading plus Vocabulary
Enhancement. SDU Research Journal Humanities and Social Sciences, 10(2),
55-72. (in Thai)
Thawarom, T. & Chaimongkol, S. (2013). Problem of Thai Students in Comprehending
English Mathematics. Journal of Liberal Arts, Ubon Ratchathani University, 9(2),
347-365. (in Thai)
Thumsongkram, N. (1996). Mathematics Teaching Behaviors of Prathom Suksa 3 Teachers
According to Elementary Curriculum B.E. 2521 (revised B.E. 2533) in Loei
Elementary Schools. (Master’s thesis). Khon Kaen University, Khon Kaen. (in Thai)