การปกครองตามแนวทฤษฎีทางพระพุทธศาสนา

Main Article Content

พระครูวุฒิธรรมบัณฑิต
สมนึก จันทร์โสดา

บทคัดย่อ

         การปกครอง เป็นการใช้อำนาจอธิปไตยตามกฎหมายในการบริหารและจัดการประเทศ การปกครองมีหลายรูปแบบ เช่น การปกครองแบบประชาธิปไตย และการปกครองแบบเผด็จการ นอกจากนี้การปกครองยังมีได้หลายระดับ เช่น การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และ การปกครองส่วนท้องถิ่น ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครองในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่เกี่ยวข้องกับมวลมนุษย์ในทุกด้านของชีวิต แนวคิดหรือทฤษฎีทางการปกครองในพระพุทธศาสนา จึงมาจากกรอบความคิดที่ต้องการศึกษาทฤษฎีทางการเมืองการปกครอง พัฒนาการของสังคมที่มีมาแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันมีส่วนทำให้การปกครองมีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น การปกครอง คือ การใช้อำนาจรัฐตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการปกครองประเทศเป็นส่วนรวม พระพุทธเจ้าก่อนที่จะทรงผนวชและได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงศึกษาเพื่อเตรียมตัวจะเป็นกษัตริย์ปกครองบ้านเมืองจนสำเร็จการศึกษา 18 ศาสตร์ ดังนั้นหลักคำสอนที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครองจึงมีปรากฏในพระพุทธศาสนามากมาย ที่จะสามารถศึกษาแนวการปกครองที่มีในทางพระพุทธศาสนา เพื่อที่จะนำมาเป็นแนวทางในการปกครองตนเอง ปกครองสังคมประเทศชาติ

Article Details

How to Cite
ก พ., & จันทร์โสด ส. (2023). การปกครองตามแนวทฤษฎีทางพระพุทธศาสนา. บัณฑิตสาเกตปริทรรศน์, 8(2), 1–11. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/saketreview/article/view/261153
บท
บทความวิชาการ

References

ชุมพร สังขปรีชา. (2531). ปรัชญาและทฤษฎีการเมืองว่าด้วยธรรมชาติมนุษย์. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทวี ผลสมภพ. (2534). ปัญหาปรัชญาในการเมืองของโลกตะวันออก. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2538). ความคิดทางการเมืองในพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

______. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สามัคคีสาส์น จำกัด.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วัชรา ไชยสาร. (2545). การเมืองภาคประชาชน. กรุงเทพมหานคร: หจก. วี.เจ. พริ้นติ้ง.

Chaisarn W.. (2545). Civic Politics. Bangkok: V.J. Printing Ltd. Partnership.

______. (2540 B.E.). Political Perspectives in Buddhism. Bangkok: Samakkeesarn Co. Ltd.

Changkhwanyuen P.. (2538 B.E.). Political Thought in Tipitaka. Bangkok: Chulalongkorn University.

Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (2539). Tipitaka in Thai MahachulaLongkornrajavidyalaya Volume. Bangkok: Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.

Phradhammapitaka (P.A. Payutto). (2543). Dictionary of Buddhism. Bangkok: Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.

Phonsompob T.. (2534). Problem of Eastern Political Philosophy. Bangkok: Ramkham haeng University.

Sangkhaprecha C.. (2531). Political Philosophy and Theory on Human Nature. Bangkok: Thammasat University.