แนวทางการบริหารจัดการโรงพยาบาลสนาม วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัจจัยความสำเร็จของการบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามวิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด คือ การดูแลผู้ป่วยจำนวนมากเป็นสิ่งสำคัญ โดยมุ่งเน้นเรื่องของการดูแลและประคับประคองผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) ในสภาวการณ์ที่มีการระบาดจึงต้องมีรูปแบบการบริหารจัดการที่เป็นระบบ ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านหลักการบริหาร ด้านการพัฒนาจิตใจและการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจเพื่อให้มีแนวทางในการจัดการดูแลสุขภาพจิตในโรงพยาบาลสนามให้กับผู้ป่วย ตลอดจนบุคลากรผู้ให้การดูแลสามารถคงความเข้มแข็งทางจิตใจ มีพลังและความหวังที่จะฝ่าข้ามวิกฤตไปได้อย่างมีสุขภาวะที่ดี
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
กรมสุขภาพจิต. (17 เมษายน 2563). แนวทางการสร้างวัคซีนใจเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันในชุมชน. สืบค้น เมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก https://dmh.go.th/covid19/news1/view.asp?id=13
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือดูแลสังคมจิตใจบุคลากรสุขภาพในภาวะวิกฤตโควิด-19. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
กรมสุขภาพจิต. (6 มกราคม 2564). แนวทางการดูแลด้านสังคมจิตใจ ในสถานพยาบาลและชุมชน. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก http://mhso.dmh.go.th/page/subject_details. php?subject_id=309
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (6 มกราคม 2564). แนวทางการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามกรณีการ ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ในกลุ่มผู้ป่วยไม่แสดงอาการหรือมีอาการน้อย. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.kkpho.go.th/i2021/index.php/component/attachments/download/9601
กรมการแพทย์. (10 มกราคม 2564). โรงพยาบาลสนาม (กรณีมีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในวงกว้าง). สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก https://covid19.dms.go.th/Content/Select_Landding_page contentId=107
แพทย์โรคติดเชื้อและระบาดวิทยา. (23 มีนาคม 2563). ความรู้พื้นฐาน COVID-19. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก http://phoubon.in.th/covid-19/ความรู้เรื่อง COVID รามา.pdf
บุษกร โลหารชุน. (2564). ต้นแบบโรงพยาบาลสนามโควิด 19 เพื่อคนพิการ. วารสารกรมการแพทย์. 46(3), 5-10.
รัฐบาลไทย. (11 มีนาคม 2563). เรียนรู้สู้โควิด-19. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2565, จาก https:// www.thaigov.go.th/news/contents/details/27162
สถาบันรับรองคุณภาพสภานพยาบาล. แนวปฏิบัติเพื่อการบริหารจัดการโรงพยาบาลเฉพาะกิจ COVID-19. ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม 2563.
อนุตรา รัตน์นราทร. (2563). รายงานผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19): ผู้ป่วยรายแรกของประเทศไทยและนอกประเทศจีน. วารสารสถาบันบำราศนราดูร. 14(2), 116-23.
อนุตรา รัตน์นราทร. (2563).ลักษณะทางคลินิกและภาพรังสีทรวงอกของผู้ป่วยโรคปอดอักเสบจากโควิด 19 ที่สถาบันบำราศนราดูร. วารสารควบคุมโรค. 46(4), 540-550.