แรงงานเมียนมาร์ : มโนทัศน์และการบริหารจัดการ

Main Article Content

เดโช แขน้ำแก้ว

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์มโนทัศน์และการบริหารจัดการของแรงงานเมียนมาร์ในปัจจุบัน พบว่า แรงงานเมียนมาร์เป็นแรงงานต่างด้าวที่อพยพไปทำงานในแต่ละจังหวัดเพื่อช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจในการผลิตและการแข่งขันของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ แม้ว่าการจ้างงานแรงงานเมียนมาร์จะส่งผลกระทบต่อสังคมในด้านต่าง ๆ แต่นายจ้างต้องการใช้แรงงานเมียนมาร์มากขึ้น ดังนั้น แรงงานเมียนมาร์จึงต้องได้รับการจัดการผ่านการบริหารทรัพยากรบุคคลและมีกลยุทธ์ในการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบการเข้าเมืองอย่างถูกกฎหมาย รวมถึงสร้างเครือข่ายคุ้มครองแรงงานเมียนมาร์และพัฒนาฝีมือแรงงานด้วยวิธีการและขั้นตอนการทำงานเพื่อสิทธิแรงงานเมียนมาร์ เช่น การฝึกอบรมด้านกฎหมายสิทธิขั้นพื้นฐานและความช่วยเหลือทางกฎหมายเพื่อสร้างความเข้าใจและเข้าถึงสิทธิ ตลอดจนการรณรงค์ตามบริบทของแรงงานเมียนมาร์หรือดำเนินกิจกรรมทางวัฒนธรรมและนโยบายที่เป็นกลางเพื่อให้แรงงานเมียนมาร์อยู่อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์โดยการบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการจัดหางาน. (2560). แรงงานต่างด้าว-นายจ้าง ต้องรู้ ขอทำงานตาม พ.ร.ก. ใหม่ มีหลักเกณฑ์วิธีการอะไรบ้าง?. กรุงเทพฯ : กระทรวงแรงงาน.

จันทรา ธนะวัฒนาวงศ์ และคณะ. (2553). แนวทาง และกลไกการแก้ไขปัญหาของความทับซ้อน/

กำกวมระหว่างคนไร้รัฐกับคนทำงานสัญชาติลาว : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ฐานเศรษฐกิจ. (2560). ก.แรงงานย้ำดูแลแรงงานไทย และต่างด้าวตามมาตรฐานสากล. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก http://www.thansettakij.com/content/120524.

เดโช แขน้ำแก้ว. (2561). แรงงานข้ามชาติ : คุณภาพชีวิต และการสร้างคุณค่าบนประสบการณ์ ณ ถิ่นปลายทาง กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช. (วิทยานิพนธ์หลักสูตรพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย.

ทวีป ปั้นมณี. (2519). ระบบการควบคุมคนทำงานลักลอบเข้าเมืองของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยกองทัพบก.

ธีรดา สุธีรวุฒิ. (2559). การดำเนินงานสาธารณสุขแรงงานต่างด้าว. กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข.

ปณิตา ศรศรี. (2562). แรงงานต่างด้าว : ความสำคัญ และการบริหารจัดการ. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก http://training.p3.police.go.th/doc/non4.pdf.

ฝ่ายวิชาการ กองแผนงาน และสารสนเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน. (มปป.). รายงานผลการศึกษาเรื่องความต้องการแรงงานในอาชีพ และวิชาชีพที่ให้และห้ามคนต่างด้าวทำ. กรุงเทพฯ : ฝ่ายวิชาการ กองแผนงาน และสารสนเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน.

พระมหาแพง เตชสีโล (ชำนิงาน). (2556). การบริหารจัดการการใช้แรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบการขนาดย่อมในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ (บุญทอง) และคณะ. (2564). รัฐ : การเสริมสร้างนโยบายรัฐสวัสดิการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำสังคมไทย. วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์. 6(2), 108-117.

มูลนิธิอารมณ์ พงศ์พงัน. (2559). สหภาพแรงงานกับการปกป้องสิทธิแรงงานต่างด้าว. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก http://aromfoundation.org/2016/สหภาพแรงงานกับการปกป้อ/.

เรืองเดช นวสันติ. (2556). มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยเพื่อปรับให้เป็นแรงงานถูกกฎหมาย. (วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญานิติศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

วาทินี แก้วทับทิม. (2554). ผลกระทบจากการจ้างแรงงานข้ามชาติของไทยภายใต้ยุคพิสูจน์สัญชาติ.

กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ.

วิทยาลัยชุมชนระนอง. (มปป.). เรียนรู้ภาษาเมียนมาเพื่อการสื่อสาร. ระนอง : งานหลักสูตรพัฒนาทักษะ

กลุ่มงานจัดการเรียนการสอนและงานวิชาการ วิทยาลัยชุมชนระนอง.

วิทวัส ขุนหนู และประสพชัย พสุนนท์. (2558). ผลกระทบของแรงงานพม่าในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 10 (1), 77.

วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ และศิริพร ลิ่มบุญสูง. (2560). การจัดการแรงงานต่างด้าวของบริษัทห้องเย็นโชติวัฒน์หาดใหญ่ จำกัด (มหาชน) สาขาระนอง อำเภอเมือง จังหวัดระนอง. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ, 10 (3), 2027-2040.

สมทรง นุ่มนวล และคณะ. (2564). พื้นที่วัฒนธรรมของแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 13(2), 20-31.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551). พระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%A149/%A149-20-2551-a0001.pdf.

สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์. (2559). สถิติแรงงานต่างด้าว. กรุงเทพฯ : สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2562). การดำเนินงานสาธารณสุขแรงงานต่างด้าว. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก http://www.boe.moph.go.th/files/meeting/slide_IHR_

DEC_pdf/3.pdf.

สุทธิดา มะลิแก้ว. (2552). ชุดสรุปบทเรียนการทำงานกับกลุ่มแรงงานต่างด้าว เรื่องกระบวนการทำงานเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าว. กรุงเทพฯ : มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์.

สุรีประภา ตรัยเวช. (2551). แรงงานต่างด้าวกับกระบวนการค้ายาเสพติดในประเทศไทย. (เอกสารวิชาการ

ส่วนบุคคล) สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม.

สุรีย์พร พันพึ่ง, Kyoko Kusakabe, จรัมพร โห้ลำยอง, เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และนิพนธ์ ดาราวุฒิมาประกรณ์. (2551). การศึกษาของบุตรหลานแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. (รายงานการวิจัย). สถาบันวิจัยประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT).

เสาวธาร โพธิ์กลัด และอุไรรัตน์ แย้มชุติ. (2555). ปัญหาของแรงงานต่างด้าว กรณีศึกษา แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าในเขตพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 6 (11), 1-9.

อรุณกมล แดงไฟ. (2562). แรงงานต่างด้าว. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก https://www.l3nr.org/posts/

อุมาพร คำนวณเดช. (2562). ครอบครัวข้ามชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก https://www.goto

know.org/posts/569719.

โอเคเนชั่น. (2554). วัฒนธรรมและประเพณีภายในแคมป์แรงงานต่างด้าวในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2565, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/HotTopic/2011/10/25/entry-1.

Ahn, P. (2004). Migrant Workers and Human Rights Out-Migration from South Asia. International Labour Organization Subregional Office for South Asia (SRO) Bureau of Workers’ Activities (ACTRAV) New Delhi Geneva.

Business for Social Responsibility. (2010).Migrant Worker Management Toolkit : A Global

Framework Managing Workers and Protecting Rights. BSR, 3-4.

Dempster, H. and Hargrave, K. (2017). Understanding public attitudes towards refugees and migrants. London: The Royal Institute of International Affairs.

House of Commons library. (2017). Migrant workers in agriculture. Briefing Paper, 7987(4), 3.

International Labour Organization. (2006). ILO Multilateral Framework on Labour Migration Non-binding principles and guidelines for a rights-based approach to labour migration. International Labour Office Geneva.

Mohapatra, S. Ratha, D. and Scheja, E. (2010). Impact of Migration on Economic and Social Development: A review of evidence and emerging issues. Retrieved April 30, 2022, from https://elibrary.worldbank.org/doi/epdf/10.1596/1813-9450-5558.

Office of the United Nations high commissioner for Human Rights. (2005). The International Convention on Migrant Workers and its Committee. United Nations New York and Geneva.

United Nations. (1995). Quality of Life in the ESCAP Region. Economic and Social Commission for Asia and the Pacific.