การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาสังคมในการปกครองท้องถิ่น ในอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาสังคมในการปกครองท้องถิ่นในอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น 2) เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาสังคมในการปกครองท้องถิ่นในอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 19,053 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Taro Yamane จึงได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนจำนวน 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ พระสังฆาธิการ บุคคลกรและประชาชนในเขตอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น ด้วยวิธีเลือกแบบเจาะจง จำนวน 10 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ F-test วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท
ผลการศึกษาพบว่า
1) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาสังคมในการปกครองท้องถิ่นในอำเภอ ซำสูง จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มี อายุ ระดับการศึกษา กลุ่มประชาสังคม และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันมีส่วนร่วมทางการเมืองในภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
ภาษาไทย
กองราชการส่วนตำบล. (2550). ข้อมูลสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล ประจำปี 2550. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น.
ณรงค์ พึ่งพานิช. (2561). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยชินวัตร.
ดำเกิง ลักษณะโยธิน. (2552). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลนครลำปาง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บุศรา โพธิสุข. (2558). การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณี ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. รายงานการวิจัย. วิทยาเขตเชียงใหม่: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประยงค์ พรมมา. (2556). การบริหารงานตามหลักอปริหานิยธรรมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ไพรัตน์ ฉิมหาด. (2563). การเมืองภาคพลเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในสังคมไทย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7(5), 46-47.
สถาบันพระปกเกล้า. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
สมเชาว์ ภูพลผัน. (2559). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลโนนสูง อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์. การค้นคว้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชารัฐศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สำนักงานผู้แทนประจำประเทศไทย. นโยบายและกลไกทางกฎหมายของต่างประเทศ. สืบค้นวันที่ 10 สิงหาคม 2564). จาก file:///C:/Users/Admin/Downloads/Documents/csb-tha-th.pdf
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2554). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักการพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
อัคร์วินต์ วรรณะศิลปิน. (2558). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตดอนเมืองกรุงเทพมหานคร. งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภาษาอังกฤษ
Akhawin Wannasilapin. (2015). Political Participation of People in Don Mueang District. Bangkok. College of Public Administration Burapha University.
Butsara Photisuk. (2015). People’s Local Political Participation: A Case Study Chang Phueak Subdistrict, Mueang District, Chiang Mai Province. Research Report. Mahachulalongkornrajavidyalaya University Chiang Mai Campus.
Damkoeng character Yothin. (2009). political participation of people in Lampang Municipality. Master of Arts. Chiang Mai University.
King Prajadhipok’s Institute. (2017). Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2560, First Edition. Bangkok: King Prajadhipok’s Institute 2017.
Narong Puengpanit. (2019). People’s Democracy Political Participation in Tak Province.
Shinawatra University.
Pairat Chimahat. (2020). Citizen Politics and Political Participation in Thai Society. Mahachulanakhonthas Journal. 7(5), 46-47.
Prayong Phomma. (2013). Administration in accordance with the moral principles of Khon Kaen Provincial Administrative Organization. Master of Buddhist Thesis. Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Secretariat of the House of Representatives. (2011). People’s Political Participation. Bangkok: Publishing Office of the Secretariat of the House of Representatives.
Somchaow Phuphonphan. (2017). Political participation of people in NonSung Subdistrict Municipality, Yang Talat District Kalasin Province. Mahasarakham Rajabhat University.
Subdistrict Government Division. (2007). Subdistrict Council and Subdistrict Administrative
Organization information for the year 2007. Bangkok: Local Printing House.
Thailand Representative Office. , from. source: file:///C:/Users/Admin/Downloads/ Documents/csb-tha-th.pdf