พฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมทางการเมืองในเขตอำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทั่วไปที่มีสิทธิเลือกตั้งที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู จำนวน 81,644 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญโดยใช้สูตรของ Taro Yamane จึงได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ พระสังฆาธิการ บุคคลกรและประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู ด้วยวิธีเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที-เทส และ เอฟ-เทส วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท
ผลการศึกษาพบว่า
1) ระดับพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มี อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันมีพฤติกรรมทางการเมือง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
ภาษาไทย
ณรงค์ พึ่งพานิชและคณะ. (2562). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยชินวัตร.
ธีรวัตพล เลารุจิราลัย. (2554). พฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนในเทศบาลเมืองสองพี่น้องจังหวัดสุพรรณบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นิมิตร สุขแยง. (2549). การมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบล : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ก๊า อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บุศรา โพธิสุข. (2558). การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชน: ศึกษาเฉพาะกรณี ตำลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ประเดิม แพทย์รังษี. (2556). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น : ศึกษากรณีเทศบาลตำบลท่าหลวง อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
ประยงค์ พรมมา. (2557). การบริหารงานตามหลักอปริหานิยธรรมขององค์การ บริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รัฐนันท์ เหมรัตน์. (2553). พฤติกรรมทางการเมืองของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ราชกิจจานุเบกษา, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560, เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ประจำจังหวัดหนองบัวลำภู. (2564). สถิติการใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด.
อรสา รัตนสินชัยบุญ. (2544). การวิเคราะห์เอกลักษณ์ของเขตเลือกตั้งที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการออกเสียงเลือกตั้ง: กรณีศึกษาการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภาษาอังกฤษ
Butsara Photisuk. (2015). People’s Participation in Local Politics: A Case Study Chang Phueak Subdistrict, Mueang District Chiang Mai Province. Research Report, Mahachulalongkornrajavidyalaya University Chiang Mai Campus.
Government Gazette. (2017). Constitution of the Kingdom of Thailand.
Narong Puengpanich and colleagues. (2019). Political Participation in People’s Democracy in Tak Province. Shinawatra University Graduate School.
Nimit Sukayang. (2006). People’s Participation in Subdistrict Administration Organization: A Case Study of Mae Ka Subdistrict Administrative Organization San Pa Tong District Chiang Mai Province. Master of Arts. Graduate School of Chiang Mai University.
Office of the Election Commission Nong Bua Lamphu Province. (2021). Statistics on the exercise of the right to vote for the President of the Provincial Administrative Organization.
Orasa Rattanasinchaiboon. (2001). Analysis of Constituency Identity Influencing Voting Behavior: A Case Study of the Election of Members of the House of Representatives in Bangkok. Research Report. Ramkhamhaeng University.
Pradem Patrangsee. (2013). People’s Participation in Local Development: A Case Study of Tha Luang Sub-District Municipality, Makham District, Chanthaburi Province. Graduate School of Rambhai Barni Rajabhat University.
Prayong Promma. (2014). the administration according to the principles of the organization Khon Kaen Provincial Administration. Master of Arts. Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Ratthanan Hemarat. (2010). Political behavior of students of the Faculty of Political Science. Master of Political Science, Ramkhamhaeng University.
Teerawatphon Laurujiralai. (2011). Political behavior of people in Song Phi Nong Municipality, Suphan Buri Province. Graduate School of Kasetsart University.