บทวิจารณ์หนังสือ: อำนาจของความโง่ ความหลง
Main Article Content
บทคัดย่อ
อำนาจของความโง่ ความหลง มีเนื้อหาที่อธิบายถึงกิเลส คือ ความโง่และความหลง เนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย 2 เรื่อง คือ เรื่องของความหลงในสีลและวัตร เรื่องที่ 2 จะเป็นเรื่อง อำนาจของความโง่ เป็นการอธิบายความที่แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจในหลักธรรมนั้นอย่างถึงแก่นแท้ ลุ่มลึก แล้วกลั่นออกมาเป็นคำพูดท่านเอง เทศน์สอนในรูปแบบของท่านเอง อธิบายเพื่อให้หลักธรรมที่เข้าใจยาก กลายเป็นเนื้อหาที่คนทั่วไปอ่านแล้วเข้าใจได้ ปฏิบัติได้
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตญาโณ). (ม.ป.ป.). ตอบปัญหานานาชาติ. ม.ป.ท.: PUB PRESS.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). อำนาจของความโง่ ความหลง. กรุงเทพมหานคร: มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำกัด.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2540). ธรรมนูญชีวิต. กรุงทพมหานคร: ที พี เอ็น เพรส.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 41. กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์ ในเครือ บริษัท สำนักพิมพ์เพ็ทแอนด์โฮม จำกัด.