หลักรัฐศาสตร์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎก : การมีส่วนร่วมทางการเมือง

Main Article Content

ไพรัช พื้นชมภู

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


          หลักการมีส่วนร่วมทางการเมืองมีปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกโดยเฉพาะพระสุตตันตปิฎกอยู่หลายแห่ง ประกอบด้วย 1) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในแง่ของอำนาจ ตัวอย่างที่เด่นชัดคือพระสงฆ์สาวกได้มีส่วนร่วมในอำนาจการปกครอง 2) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในแง่ของการจัดสรรปันส่วนทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าทางสังคมในกูฏทันสูตรที่พลเมืองได้รับการจัดสรรทุนทรัพย์จากพระเจ้ามหาวิชิตราช 3) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในแง่ของนโยบายสาธารณะ ตัวอย่างที่เด่นชัดคือมฆมาณพกับสหาย 4) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในแง่ของความขัดแย้ง และ 5) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในแง่ของการประนีประนอมผลประโยชน์ ตัวอย่างที่เด่นชัดคือการแย่งชิงทรัพยากรน้ำในแม่น้ำโรหิณีของพระประยูรญาติและความขัดแย้งระหว่างภิกษุชาวโกสัมพี 2 รูป และ 6) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในแง่ที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศ ตัวอย่าง คือ การสรรหาผู้นำในอัคคัญญสูตร


 


คำสำคัญ : หลักรัฐศาสตร์,พระไตรปิฎก,การมีส่วนร่วมทางการเมือง


 


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กุลธน ธนาพงศธร. (2520). หลักการกำหนดนโยบายของรัฐ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คนอง วังฝายแก้ว. (2554). การกำเนิดแห่งรัฐที่ปรากฏในอัคคัญญสูตร. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.gotoknow.org/posts/504187.

จรูญ สุภาพ. (2514). หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

จิรโชค วีระสัย และคณะ. (2546). รัฐศาสตร์ทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2517). ความคิดอิสระ : รวมบทความทางการเมืองระหว่างปี 2511-2516. กรุงเทพมหานคร: พิฆเณศ.

ชินรัตน์ สมสืบ. (2539). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ณรงค์ สินสวัสดิ์. (2539). การเมืองไทย: การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา. กรุงเทพมหานคร: วัชรินทร์การพิมพ์.

___________. (2539). จิตวิทยาการเมือง. กรุงเทพมหานคร: วัชรินทร์การพิมพ์.

ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์ ศึกษานโยบายสาธารณสุข.

นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ประยงค์ สุวรรณบุบผา. (2541). รัฐปรัชญา แนวคิดตะวันออก-ตะวันตก. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

ประสิทธิ์ กุลบุญญา. (2557). ความขัดแย้งและการจัดการความขัดแย้งตามหลักพระพุทธศาสนา, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 5(1), 18-40.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปฎกฉบับภาษาบาลี ฉบับสยามรัฐ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหา มกุฏราชวิทยาลัย.

_________. (2539). พระไตรปฎกและอรรถกถาฉบับภาษาไทย ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย.

พลศักดิ์ จิรไกรศิริ. (2531). การเมืองเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: อนุเคราะห์ไทย.

วิสุทธิ์ โพธิแท่น. (2538). อะไรนะ...ประชาธิปไตย?. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=273.

เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2543). คำบรรยายพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.

อานนท์ อาภาภิรม. (2528). รัฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

Charles E.Lindblom. (1968). The Policy-Making Process Englewood. Cliffs,N.J.: Prentice-Hall.

David Easton. (1971). The Political System: AnInquiry into The State of Political Science, 2d ed.New York: Alfred A.Knopf.

Harold D.Lasswell. (1958). Politics: Who Gets What, When and How. Cleveland:The World Publishing Company.

J.D.B. Miller. (1962). The Natures of Politics. London:Gerald Duckworth.

W.J.M.McKenzie. (1969). Political and Social Science. Baltimore: Penguin,Inc..