รัฐ : การเสริมสร้างนโยบายรัฐสวัสดิการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำสังคมไทย

Main Article Content

พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ (บุญทอง)

บทคัดย่อ

            บทความนี้มุ่งนำเสนอ รัฐกับการเสริมสร้างนโยบายรัฐสวัสดิการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำสังคมไทย การที่ภาครัฐของไทยได้กำหนดนโยบายที่สนับสนุนรัฐสวัสดิการให้กับประชาชนที่มุ่งสู่ความเป็นรัฐสวัสดิการที่สมบูรณ์เพราะเป็นการแก้ไขความเหลื่อมล้ำ ทางเศรษฐกิจและสังคมของพลเมืองในประเทศ แม้ว่าไม่อาจหลีกเลี่ยงอุปสรรคที่ต้องเกิดควบคู่กับประโยชน์ที่ได้รับ และมาตรการสวัสดิการแห่งรัฐนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาความยากจนในการช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อยให้พ้น จากปัญหาความยากจนเพื่อพยายามลดช่องว่างของความยากจนให้เกิดการกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกันให้มากขึ้น ซึ่งนโยบายของภาครัฐที่ผ่านมาเน้นนโยบายเรื่องการแก้ปัญหาความยากจน ซึ่งได้ผลในบางระดับแต่ยังไม่ได้ลดความเหลื่อมล้ำอย่างแท้จริงเพราะคนจน แม้จะมีสภาพที่ดีขึ้นแต่ก็ยังไม่เกิดการลดช่องว่างของรายได้สูงสุดกับรายได้ที่ต่ำที่สุดได้อย่างมีประสิทธิผลนั่นเอง

Article Details

How to Cite
บุญทอง ศ. (2021). รัฐ : การเสริมสร้างนโยบายรัฐสวัสดิการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำสังคมไทย. บัณฑิตสาเกตปริทรรศน์, 6(2), 108–117. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/saketreview/article/view/254745
บท
บทความวิชาการ

References

กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุล. (2544). นโยบายสังคมและสวัสดิการสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พลเดช ปิ่นประทีป. (2558). วิเคราะห์ความต่าง ประชานิยม-ประชารัฐ. แหล่งที่มา: https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parcy_train/ewt_dl_link.php?nid=31862 (สืบค้นวันที่ 23 มิถุนายน 2563).

สุรพล ปธานวนิช. (2547). นโยบายสังคมเส้นทางสู่รัฐสวัสดิการ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รพีพรรณ คำหอม. (2545). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : สามเจริญพาณิชย์

อนุสรณ์ ธรรมใจ. (2558). ประชารัฐ ประชานิยม และสัวสดิการ . แหล่งที่มา: http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8450e/ 8450%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%20%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%A1.pdf (สืบค้นวันที่ 23 มิถุนายน 2563).

อัมมาร สยามวาลา และสมชัย จิตสชน. (2550). แนวทางการแก้ปัญหาความยากจน: เสรีนิยม ประชานิยม หรือรัฐสวัสดิการ. เอกสารประกอบการสัมมนา. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย.

_______. (2550) แนวทางการแก้ปัญหาความยากจน: เสรีนิยม ประชานิยม หรือรัฐสวัสดิการ.เอกสารประกอบการสัมมนา. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อ พัฒนาประเทศไทย.

Kumlin, S. (2002). Institutions-experiences-preferences: How welfare state design affects political trust and ideology. In B. Rothstein & S. Steinmo. (Eds.), Restructuring the welfare state: Political institutions and policy change. New York : Palgrave Macmillan.