พุทธศาสนา : ขัดขวาง หรือพัฒนาสังคม?
Main Article Content
บทคัดย่อ
พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นความเชื่อและหลักปฏิบัติในการดำเนินชีวิตเกี่ยวกับ 1) การพัฒนา “สังคม” ที่เรียบง่าย มีความสุข และลดปัญหา 2) การพัฒนา “วัฒนธรรม” หรือความเป็นอยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรม 3) การพัฒนา “เศรษฐกิจ” แบบพอเพียง และลดความฟุ่มเฟือย 4) การพัฒนา “การเมือง” ที่ให้เกิดการรู้จักเคารพกฎ กติกา และข้อบังคับต่าง ๆ และ 5) การพัฒนา “การศึกษา” ที่มุ่งส่งเสริมงานเขียนวิชาการสั่งสอนให้เป็นคนดี แต่ก็ยังมีอีกแนวความคิดหนึ่งที่ไม่ได้ชื่นชม กลับมองว่าพุทธศาสนาคือ ตัวขัดขวางการพัฒนาเกี่ยวกับ 1) “ขาดแรงจูงใจ” เนื่องจากคนที่ปฏิบัติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เป็นคนประพฤติสันโดษ มักถูกมองว่าขาดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 2) “บุคลิกภาพ” ที่ถูกมองว่าเป็นคนเฉื่อยชาและ 3) “ขาดการมีส่วนร่วม” เพราะชอบอยู่แบบเงียบ ๆ หรือ “ชอบปลีกตัวออกจากสังคม” ทำให้พุทธศาสนาถูกบิดเบือนกลายเป็นเครื่องมือแสวงหา “โชคลาภ” แทนที่จะเป็น “ที่พึ่งทางใจ” เป็นเหตุให้พุทธศาสนากลายเป็น “ตัวขัดขวาง” และ “พัฒนาสังคม” ไปพร้อมกัน เนื่องด้วย “ระบบคิด” ของมนุษย์ที่ “มุ่งประโยชน์” ของตนเอง
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
และยั่งยืนในอุตสาหกรรมบริการ และการท่องเที่ยว. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ.
13 (2), 63-80.
เดโช แขน้ำแก้ว. (2558, มกราคม– ธันวาคม). ปลุกความดีในใจคน ด้วยค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ.
วารสารพัฒนาชุมชน. 7 (7), 7–16.
นภาพร เทพรักษา ศิริลักษณ์ หนูทอง และกาญจนา แก้วทอง. (2561). การบริหารจัดการของกรรมการ
กองทุนหมู่บ้าน เพื่อการจัดการกองทุนหมู่บ้านที่ยั่งยืนในอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 4 “วิจัย และนวัตกรรม
เพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 21-22 มิถุนายน 2561 ณ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครศรีธรรมราช, หน้า 430-439.
นารีรัตน์ พลบจิตต์. (2559, กรกฎาคม). แนวทางการแก้ปัญหาทางสังคม และการเมืองทางพระพุทธศาสนา.
พุทธจักร, 70 (7), 70.
เนื้อหาพระพุทธ ม.3. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2561, จาก https://docs.google.com/document/d/1pdn
fz34stzXyL3_T0d1V5z1ojq7uIgQbdDCIsY6xDK8/edit?pli=1.
บรรจง โสดาดี. (2561). การใช้ตรรกะในวิธีสอนของพระโพธิญาณเถระ (ชา สุภทฺโท). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บ้านจอมยุทธ์. (2561). การควบคุมทางสังคม. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2561, จาก http://www.baanjomyut.
com/library_3/extension-5/social_control/02.html.
_____ . (2561). การเผยแผ่พระพุทธศาสนา. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2561, จาก http: //www.baanjomyut.
com/library_2/extension-1/the_propagation_of_buddhism/02.html.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2532). ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติ.
กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม,
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร. (2561). สันโดษกับความรับผิดชอบต่อสังคม. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2561, จาก
http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=452&articlegroup_id=102.
เมธาวัตร ภูธรภักดี ศณัทชา ธีระชุนห์ และฐิติมา บูรณวงศ์. (2561). หลักบริหารของกลุ่มออมทรัพย์
และสวัสดิการชุมชนที่มีอิทธิพลต่อสมาชิก. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช ครั้งที่ 4 “วิจัย และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” ระหว่าง
วันที่ 21-22 มิถุนายน 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, หน้า 140-150.
วีระชัย โกแวร์. ใครรับใช้ใคร. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2561, จาก http://www.romyenchurch.org/messa
ges/?p=p_213&sName=-3651;-3588;-3619;-3619;-3633;-3610;-3651;-3594;-3657;-3651;-
3588;-3619;.
Oratai P., Bussaya Y., Pakawadee M., Phornchanit S., Anna P. and Juthatip N. (2018). Chedi
Maha Boon : Public Visibility of the Myanmar Community in Songkhla Province.
The 17th National Conference and the 1st International Conference “Ethics and
Sustainable Development” January 28-31, 2018. At the 48th Birthday of the Crown
Prince Maha Vajiralongkorn Conference Hall, Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Wangnoi, Ayutthaya, Thailand, P.39-49.
Patara P., (2018). The Creation of Sculpture in Consumerism and Preservation Discourse.
The 3rd National and International Conference on Weaving ASEAN Cultural Connection
“ASEAN Art and Craft”, Innovation Building, Walailak University, Nakhon Si Thammarat,
Thailand, August 31, 2018, P.20-41.
Thanakit J., Pathra S. and Napak S. (2018). Analysis of production processes and guidelines
for development Ceramic jewelry to increase market opportunities. The 3rd
National and International Conference on Weaving ASEAN Cultural Connection
“ASEAN Art and Craft”, Innovation Building, Walailak University, Nakhon Si Thammarat,
Thailand, August 31, 2018, P.20-41.
Waranya P., Sudarat K. and Phurinat C. (2018). The Roles of the Temple on Mad-mee Silk
Weaving Association : A Case Study of Nikom Thung Photalay,Thung Phothalay
District, Muaeng, Kamphaeng Phet Province. The 17th National Conference and
the 1st International Conference “Ethics and Sustainable Development” January 28-31,
2018. At the 48th Birthday of the Crown Prince Maha Vajiralongkorn Conference Hall,
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Wangnoi, Ayutthaya, Thailand, P.95-106.