พฤติกรรมการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทั่วไปที่มีสิทธิเลือกตั้งที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่นจำนวน 91,650 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Taro Yamane จึงได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนจำนวน 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ พระสังฆาธิการ บุคคลกรและประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ด้วยวิธีเลือกแบบเจาะจง จำนวน 10 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที-เทส และ เอฟ-เทส วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท
ผลการศึกษาพบว่า
1) ระดับพฤติกรรมการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันมีพฤติกรรมการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ในภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
ภาษาไทย
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล. (2654). ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2564, จาก https://www.amnesty.or.th/our-work/hre/udhr/
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2545). การเมืองภาคพลเมือง. กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
เบญจพร อาจวิชัย. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม: ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยสื่อสารการเมือง ม.เกริก.
บุศรา โพธิสุข. (2559). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในท้องถิ่น กรณีศึกษา ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. พิฆเนศสรรค์. 12(1), 151-164.
ดลฤดี วรรณสุทธะ. (2547). พฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร: ศึกษาการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2554 ในพื้นที่อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยรามคำแหง.
นาทอง ชูเวช. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร: กรณีศึกษา ประชาชนกรุงเทพมหานคร ในการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารการเมือง) มหาวิทยาลัยเกริก วิทยาลัยสื่อสารการเมือง.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2564). สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2564, จาก prd.go.th/th/news https://thainews. /detail /TCATG210329160726267.
ภาสวรรณ สิทธิกรณ์. (2564). พฤติกรรมการลงคะแนนซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดขอนแก่น เขตเลือกตั้งที่ 7. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประยงค์ พรมมา. (2557). การบริหารตามหลักองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต.
สติธร ธนานิธิโชติ. (2564). พฤติกรรมนิยมและสถาบันนิยมในการเมืองการเลือกตั้งไทย. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2564, จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=พฤติกรรมนิยมและสถาบันนิยมในการเมืองการเลือกตั้งไทย.
สุจรรย์จิรา ยามนภัทร. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรี กรณีศึกษา เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี. สารนิพนธ์ หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก.
ภาษาอังกฤษ
Amnesty International. (2021). Universal Declaration of Human Rights. Retrieved on September 11, 2021, from https://www.amnesty.or.th/our-work/hre/udhr/.
Anek Laothammathat. (2002). Citizen Politics. Bangkok: Torch Publishing Project.
Benjaporn Arjwichai. (2014). Factors Affecting Decision Making in the Election of Members of the House of Representatives. Maha Sarakham Province: A Case Study of the General Election on February 2, 2014. Bangkok; College of Political Communication Krirk University.
Bursara Pothisook. (2016). The Local Political Participation of the People: A Case Study of Tambon Chang Phueak, Muang District, Chiang Mai Province. Pikanetsan. 12(1). 151-164.
Dolrudee Wannasuttha. (2004). Election behavior of members of the House of Representatives, a study of the general election on January 6, 2011 in Kut Chum District, Yasothon Province. Master of Arts thesis. Ramkhamhaeng University Graduate School.
Dolrudee Wannasuttha. (2004). Election behavior of members of the House of Representatives. a study of the general election on January 6, 2011 in Kut Chum District, Yasothon Province. Master of Arts thesis. Graduate School of Ramkhamhaeng University.
Nathong Choovej. (2013). Factors Affecting Decision Making in the Election of Members of the House of Representatives, a Case Study of Bangkok Citizens in the General Election on February 2, 2014. Master of Political Science. (Political Communication), Krirk University College of Political Communication.
Office of the Election Commission. (2021). Retrieved on August 20, 2021, from prd.go.th/th/news https://thainews. /detail /TCATG210329160726267.
Passawan Sittikorn. (2021). Voting behavior to repair Member of the House of Representatives 2019 in Khon Kaen Province, Constituency 7. Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Prayong Promma. (2014). The administration according to the principles of the organization Khon Kaen Provincial Administration. Master of Arts.
Satitorn Thananithichot. (2021). Behaviorism and Institutionalism in Thai Electoral Politics. Retrieved on August 20, 2021, from http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=Behaviorism and institutionalism in Thai electoral politics.
Suchanjira Yamonpat. (2016). Factors Affecting Mayor Election Decision: A Case Study of Suphan Buri Municipality. Suphan Buri Province. Thesis Master of Political Science Program Political Communication Political Communication College Krirk University.