Academic leadership of school administrators According to the Brahma Viharn 4
Main Article Content
Abstract
The academic leadership of the school administrators is the ability of school administrators to lead Knowledge, skills and techniques be used for the benefit of academic operations by allowing personnel in collaborative educational institutions by carrying out such administration, IT is necessary to use the principles of Dharma in order to achieve qoals effectively. In this article the author would like to present the Dharma in accordance with the principles of the Brahma Vihara. 4 because in my opinion the dharma is very appropriate and especially important for the administrators of the educational institutes, Namely “Metta” (Giving love, pity and goodwill to his subordinates), “Karuna” (Helping with the intention of pure without prejudice), “Mudita” (Promotes Support, congratulate the subordinates who have received the award or Successful), “Upekkha” (Behaves with subordinates with principles, reason, honesty. And equality) Educational institution administrators should use the aforementioned Dharma principles for the happiness of their subordinates. Self and society to progress in a sustainable and peaceful balance.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
_______. (2553). แนวทางการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร:กระทรวงศึกษาธิการ.
_______. (2560). บทบาทต่อการจัดการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2563. จาก https//person. Mwit.ac.th/01-Statutes/National Educacaton.pdf.
กำพล ธนะนิมิต. (2560). การวิเคราะห์องค์ประกอบของประสิทธิภาพการสอนของครูวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและวิจัยการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
เกียรติชัย ศรีระชัย. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา กับการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ไกศิษฏ์ เปลรินทร์. (2562). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นําทางวิชาการสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธร สุนทรายุทธ. (2561). การบริหารจัดการเชิงปฏิรูป: ทฤษฎีวิจัยและปฏิบัติทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เนติกุลการพิมพ์.
ธัญลักษณ์ ผาภูมิ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธีระ รุญเจริญ. (2561). สู่ความเป็นผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ์.
นาวา สุขรมย์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ปัญญานันทภิกขุ (ปั่น ปญฺญานนฺโท). (2541). หน้าที่ของคน (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2541). พระในบ้าน. กรุงเทพมหานคร: คาธาวรรณการพิมพ์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16.กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร์ พริ้นติ้งแมสโปรดักส์ จำกัด.
พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยฺมงฺคโล). (2552). หลักธรรมมาภิบาลและประมุขศิลป์: คุณลักษณะความเป็นผู้นำที่ดี. ราชบุรี: มูลนิธิพุทธภาวนาวิชชาธรรมกายราม.
ภัทรนันท์ อิงภู. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกับการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนรวมในโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
รุ่งนภา บุตราวงศ์. (2562). หลักสูตรอิงมาตรฐานการพัฒนาสู่คุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: เนติกุลการพิมพ์.
ละอองดาว ปะโพธิง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนที่มีประสิทธิผลของครูในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจังหวัดเลย. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วนิดา อธิกิจไพบูลย์. (2562). ความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560-2574. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด
สิร์รานี วสุภัทร. (2561). ภาวะผู้นําทางวิชาการและสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2562). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.