สมรรถนะและทักษะความสามารถของพนักงานบริการการติดตั้งและซ่อมบำรุงวัสดุอุปกรณ์ สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงในเขตกรุงเทพมหานคร
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นรูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะทักษะความสามารถพนักงานบริการการติดตั้งและซ่อมบำรุงวัสดุอุปกรณ์สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับความสัมพันธ์ของสมรรถนะทักษะความสามารถพนักงานกับคุณภาพการบริการการติดตั้งและซ่อมบำรุงวัสดุอุปกรณ์สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงและ ความพึงพอใจของผู้ประกอบการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 3) เพื่อศึกษาสมรรถนะทักษะความสามารถพนักงานบริการที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ประกอบการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ในเขตกรุงเทพมหานคร ในกลุ่มตัวอย่างผู้ค้าสถานีค้าน้ำมันจำหน่ายให้ลูกค้า และผู้ใช้ในจังหวัดกรุงเทพฯ จำนวน 354 คน โดยใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน Pearson correlation, t-test ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่ เพศชาย ร้อยละ 59.60 อายุต่ำกว่า 40 ปี ร้อยละ 51.12 ระดับการศึกษาปริญญาตรี ร้อยละ 51.41 และความถี่การรับบริการจากพนักงานฯ ปีละ 6 ครั้ง ร้อยละ 59.60 และพบว่า ทักษะด้านดิจิทัล ทักษะด้านเครื่องจักรกล ทักษะด้านไฟฟ้า ทักษะด้านอารมณ์และสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพบริการการติดตั้งและซ่อมบำรุงวัสดุอุปกรณ์สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง และความพึงพอใจของผู้ประกอบการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value < .05 และพบว่า ภาพรวมของความพึงพอใจของผู้ประกอบการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงกับสมรรถนะทักษะของพนักงานบริการการติดตั้งและซ่อมบำรุงวัสดุอุปกรณ์สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value < 0.5
References
กฎกระทรวงสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2552. (2553, 25 มกราคม). เล่ม 127 ตอนที่ 6 ก. ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 51.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม. (2567). สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง แบ่งเป็น 6 ประเภท. วันที่ค้นข้อมูล 6 มกราคม 2567, เข้าถึงได้จาก http://cac.pcd.go.th/index.php/ourservices/knowledgebased-law/2017-08-08-03-31-35/244-2535-21#s5_scrolltotop.Pdf
กรมธุรกิจบริการ. (2566). ข้อมูลทรัพยากรปริมาณการจำหน่ายรายจังหวัดน้ำมันสาขาสถานีบริการ. วันที่ค้นข้อมูล 5 สิงหาคม 2566, เข้าถึงได้จาก https://data.go.th/dataset/ulg-station. pdf
จรรยวรรธน์ ตัณฑ์เจริญรัตน์ วุฒิจำนงค์, มาลัยพร วงค์แก้ว, สุกฤตา ปรีชาว่อง และขวัญฤทัย รอบุญ. (2022). การศึกษาปัญหาและสมรรถนะที่จำเป็นต่อการทำงานในภาคอุตสาหกรรม กรณีศึกษาสาขาวิชาการผลิตและนวัตกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 13. หน้า 1588-1601.
เทื้อน ทองแก้ว. (2545). ภาวะผู้นำ: สมรรถนะหลักของผู้บริหารในยุคปฏิรูป. วารสารวิชาการ, 5(9). 35-43.
เน็กซ์สกิล. (2023). การพัฒนาสมรรถนะ (Competency) ของพนักงานหนึ่งในงานที่ HR ต้องให้ความสำคัญ. จาก https://nextskill.co/. pdf. จำนวน 4 หน้า
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปกรณ์ โปรยรุ่งโรจน์ (2564) ทำการวิจัยเรื่องปัจจัยด้านจรณทักษะ (SOFT SKILL) ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานกล่มเจเนอเรชั่นวายในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะ, คณะบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรังสิต.
พสุ เดชะรินทร์. (2546). กลยุทธ์ใหม่ในการจัดการ. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.
พรนารี โสภาบุตร (2555) แนวทางพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมสาขาอุตสาหการระดับภาคีวิศวกร เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2567). t-test (การทดสอบที). วันที่ค้นข้อมูล 11 มกราคม 2567, เข้าถึงได้จาก http://vph.vet.ku.ac.th/vphvetku/images/education/Biostat57/tTestText57.pdf
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2567). บทที่ 4 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลในการประเมินโครงการ. วันที่ค้นข้อมูล 13 มกราคม 2567, เข้าถึงได้จาก http://old-book.ru.ac.th/e-book/m/MR654/chapter4.pdf
วิรัช อยู่ชา, สุรเชฐ สิทธิกิจ และทานตวรรณ เต็กชื่น (2554) การศึกษาการพัฒนาเทคโนโลยีและกําลังคนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย (เครื่องจักรกล). วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 21(2), 396-405.
ศูนย์บริการวิชาการทางวิศวกรรม. (ม.ป.ป.). หลักการการบำรุงรักษา. วันที่ค้นข้อมูล 11 มกราคม 2567, เข้าถึงได้จาก http://www.acaser.eng.psu.ac.th/klangduen/Domino/ Maintenance/maintenance%201.htm. pdf.
ศูนย์ปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม. (2560). สถานีน้ำมัน 6 ประเภท. วันที่ค้นข้อมูล 5 สิงหาคม 2566, เข้าถึงได้จาก http://cac.pcd.go.th/index.php/ourservices/knowledgebased-law/2017-08-08-03-31-35/244-2535-21. pdf
สุรพงษ์ คงสัตย์ และธีรชาติ ธรรมวงค์. (2558). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). วันที่ค้นข้อมูล 13 มกราคม 2567, เข้าถึงได้จาก http://oldweb.mcu.ac.th/site/articlecontent. php?articlegroup_id=146&flag=th
สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2004). Competency: เครื่องมือการบริหารที่ปฏิเสธไม่ได้. Productivity, 9(53), 44-48.
Boyatzis, R. E. (1982). The Competent Manager. New York: John Wiley & Sons.
Department of State (the United State of America). (1970). Outline of the U.S. Legal System. Washington D.C.: Bureau of International Programs.
Hamel, G., & Prahalad, C.K. (1994). Competing for the Future. Boston, MA: Harvard University Press.
Krejci, R. V., & Morgan, D. W. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Likert, R. (1961). New Pattern of Management. New York: McGraw – Hill.
McClelland, D. C. (1960). The Achieving Society. Princton. New Jersey: Van Nostrand.
McClelland, D. C. (1961). Human Motivation. New York: Cambridge University.Press.
Parry, S. B. (1998). Evaluation the impact of Training Alexandria. VA: American Society for training and Development.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.