Exploring the Legality of Administrative Contracts through Digital Channels in Administrative Law

Authors

  • Issaraphun Samakkadee -
  • Narong Kiettikunwong

Keywords:

Digital Government Adoption, Public Service Efficiency, Legal Research on Administrative Contracts, Transition to Digital Government, Government Tools for Public Service Delivery

Abstract

   The incorporation of digital government concepts in public sector operations has the potential to enhance efficiency in public service delivery. Thus, it becomes imperative to align the tools of the public sector with the provision of public services. This research focuses on investigating whether administrative contracts conducted through digital channels are legally binding. The study employs both Doctrinal Research, which involves the analysis and interpretation of existing legal principles and doctrines, and Non-Doctrinal Research, which goes beyond legal analysis to consider societal interpretations and practical applications. Additionally, the research utilizes statutory interpretation, alongside Connoisseurship (expert seminars), to comprehend the completeness of digital administrative contracts. The study explores the legal nature of administrative contracts conducted through digital channels, examining their legal validity. The findings indicate no significant differences between traditional administrative contracts and digital administrative contracts, as both share similar legal components, rendering them legally valid. Despite the potential benefits of legal refinements within the current legal framework to explicitly encompass digital administrative contracts, experts assert that the government presently possesses the authority to engage in such contracts without necessitating new laws or regulations. In summary, the government can legally leverage digital administrative contracts within existing laws, providing legal protection to government officials when entering into such agreements.

References

ไชยยศ เหมะรัชตะ. (2561). หลักกฎหมายนิติกรรม-สัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: นิติธรรม.

นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2557). กฎหมายปกครอง (พิมพ์ครั้งที่ 4 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

บรรเจิด สิงคะเนติ. (2564). หลักกฎหมายมหาชน: หลักนิติธรรม ในฐานะ “เกณฑ์” จำกัดอำนาจรัฐ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, วรพจน์ วิศรุตพิชญ์, ฤทัย หงส์ศิริ, กมลชัย รัตนสกาววงศ์, จิรนิติ หะวานนท์ และวรวุฒิ ทวาทศิน (รวบรวมโดย จรัญ ภักดีธนากุล). (2545). คู่มือการศึกษาวิชากฎหมายปกครอง. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จิรรัชการพิมพ์.

พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ.2549. (2550, 10 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอน 14 ก. หน้า 1.

พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2565. (2565, 12 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 139 ตอน 63 ก. หน้า 1.

พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539. (2539, 27 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. 113 ตอน 60 ก. หน้า 25.

พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542. (2542, 10 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. 116 ตอน 94 ก. หน้า 1.

มานิตย์ วงศ์เสรี. (2565). นิติวิธีว่าด้วยสัญญาทางปกครอง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560. (2560,23 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. 116 ตอน พิเศษ 210 ง. หน้า 5-8.

ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564. (2564, 12 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. 138 ตอน พิเศษ 100 ง. หน้า 7.

ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2562. (2562, 5 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. 136 ตอน 26 ก. หน้า 8.

ฤทัย หงส์ศิริ. (2566). ศาลปกครองและการดำเนินคดีในศาลปกครอง. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: กรุงสยาม พับลิชชิ่ง.

วันชัย สุขตาม จิรายุ ทรัพย์สิน และสุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2564). รัฐศาสตร์: แนวคิดพื้นฐานสู่การปฏิบัติในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: โฟร์เพซ.

ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธ์. (2565). คำอธิบายวิชานิติกรรม-สัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 25). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

Downloads

Published

2024-12-27

Issue

Section

บทความวิจัย