การศึกษาความเครียดในการปฏิบัติงานของทหารหน่วยเฉพาะกิจ กรมทหารพรานที่ 11 ที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่อำเภอแว้งและอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คำสำคัญ:
ความเครียดในการปฏิบัติงาน, ภาวะความเครียด, พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสถานการณ์ความเครียดในการปฏิบัติงาน, ระดับความเครียดในการปฏิบัติงาน, เพื่อศึกษาปัจจัยด้านงาน และพฤติกรรมในการจัดการความเครียดเครียดที่มีผลต่อการเกิดความเครียดในการปฏิบัติงาน และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการป้องกันการเกิดความเครียดในการปฏิบัติงานของของทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 11ที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่อำเภอแว้งและอำเภอ สุคิริน จังหวัดนราธิวาส กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ แบ่งเป็น 2 กลุ่มได้แก่ 1. กำลังพลทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 11 จำนวน 330 คน และ 2. ผู้บังคับบัญชา นายทหารด้านกำลังพล หัวหน้าชุดปฏิบัติการ อาสาสมัครทหารที่ปฏิบัติงานในกองร้อยทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 11 และนายแพทย์ที่เชี่ยวชาญด้านจิตเวช จำนวนทั้งสิ้น 6 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า 1. ทหารพรานฯ ส่วนใหญ่มีระดับภาวะความเครียดในการทำงานโดยรวม อยู่ในระดับต่ำ 2. ปัจจัยด้านงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับระดับความเครียดในการปฏิบัติงานของทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 11ที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่อำเภอแว้งและอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3. พฤติกรรมในการจัดการความเครียด มีความสัมพันธ์กับระดับความเครียดในการปฏิบัติงานของทหารทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 11 ที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่อำเภอแว้งและอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
ทหารบก, 13(2), 72-81.
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร. (2560). ยุทธศาสตร์ กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: กองอำนวยการรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร.
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ. (2557). ความเครียด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียด และการจัดการความเครียดของตำรวจ. J Nurs Sci, 32(3), 20-30.
ณัฎฐา มูลต๋า. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมืองสุวรรณภูมิ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการ สมัยใหม่, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
มนทิรา ปรีชา. (2552). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดและพฤติกรรมการจัดการความเครียดของตำรวจตระเวนชายแดน กองร้อย 446 จังหวัดนราธิวาส. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาสุขภาพจิต, คณะแพทยศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้. (2560). ความขัดแย้งชายแดนใต้ในรอบ 13 ปี: ความซับซ้อนของสนามความรุนแรงและพลังของบทสนทนาสันติภาพปาตานี. วันที่ค้นข้อมูล 24 กุมภาพันธ์ 2561, เข้าถึงได้จาก https://www.deepsouthwatch.org/node/11053
สมประสงค์ ศุภะวิท และอำนาจ รัตนวิลัย. (ม.ป.ป). อาการจิตประสาทจากการรบ: แนวทางการวินิจฉัยการรักษาและป้องกัน. วันที่ค้นข้อมูล 24 กุมภาพันธ์ 2561. เข้าถึงได้จาก www.gmwebsite.com/upload/thaimilitarymedicine.com/.../unit33.d...
อนุรัตน์ อนันทนาธร. (2560). ภาวะความเครียดและพฤติกรรมการจัดการความเครียดของข้าราชการตำรวจตำรวจภูธร สังกัดตำรวจภูธรภาค 2. รายงานการวิจัยคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
อิศรา รักษ์กุล. (2554). ภาวะสุขภาพจิตและทัศนคติของกำลังพลกองทัพบกที่ปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. เวชสารแพทย์ทหารบก, 64(2), 67-74.
American Psychiatric Association. (1984). Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder (DSM - III ). Washington, DC: American Psychiatric Association.
Brown, W. B., & Moberg, D. J. (1980). Organizational Theory and. Management: A Macro Approach. New York: John Wiley & Sons.
Cooper, C. L., Sloan, S. J. & Williams, S. (1988). Occupational Stress indicator: Management Guide. Great Britain: NFER Nelson Publishing Company Limited.1998.
Cooper, C. L., & Davidson, M. J. (1987). The Stress Survivors. London: Gration.
Gershon, R. M., Barocas, B., Canton, A., Li, X., & Vlahov, D. (2009). Mental, physical, and behavioral outcomes associated with perceived work stress in police officers. Crim Justice Behav, 36(3). 275-284.
Harry, C. H. (1990). Combat Stress and Battle Fatigue. Military Studies I. USUHS.
Holmes, T., & Rahe, R. (1967). The social readjustment rating scale. Journal of Psychomatic Research, 11, 213.
Kalimo, R., El-Betawi, M. A.,& Cooper, C. L. (1987). Psychosocial factors at work and their relation to health. Geneva: World Health Organization.
Lazarus, R. S., & Folkman, S. (1984). Stress, appraisal and coping. New York: Springer.
Lazarus, R. S. (1991). Emotion and Adaptation. New York: Oxford University Press.
Robbins, S. P., & Judge, T. (2013). Organization behavior. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson.
Yamane, T. (1973). Statistics, An Introductory Analysis (3rd ed.). New York: Harper and Row.