ผลของโปรแกรมภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

Authors

  • เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ
  • วีณา อิศรางกูร ณ อยุธยา
  • สุทิน ชนะบุญ

Keywords:

Leadership Enhancement Program, Creative Leadership, Executive

Abstract

The objective of this study was to study the results of the creative leadership enhancement programme of administrators of the Sirindhorn College of Public Health, Praboromarajchanok Institute Ministry of Public Health. The programmeme was developed with 5 modules which were: 1) the visions, 2) taking into account the individuality, 3) flexibility and adaptation, 4) being creative and 5) team work. The programmeme was implementation with the trial group of 30 people and the control group who did not receive the programme of 30 people. The administrators in this study were the director, deputy director, course chair or course head 

or head of department, course supervisor, or department supervisor, and supervisor in the department. The questionnaire was employed with confidential value 0.92. Data were analyzed using descriptive statistics, frequency, percentages, mean, standard deviation, median, quartile1 and 3, minimum and maximum and inferential statistics with Independent t-test and Wilcoxon matched pairs signed ranks test.

               The results found that after implementation the programme, comparing between experimental and control groups, the mean difference of the creative leadership enhancement score was statistically significant at  the .05 level (p-value = 0.003; 95%, confidence interval of difference = 0.08 to 0.37) while the median scores of experimental group was statistically significantly higher than pre-trial at the .05 level (p-value <0.001). The recommendations of this study indicates that the development of creative leadership of college administrators to emphasize the leaders have more creative thinking and practice.

References

กฤษพล อัมระนันท์. (2559). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอแม่วงก์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2. (ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์) สืบค้นจาก http://ns.nsru.ac.th/handle/nsru/99
กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2555). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เกศสรินทร์ ตรีเดช. (2562). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต26. (ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นเรศ บุญช่วย. (2553). แผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ที่เหมาะสมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา.
(ปริญญานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ปิยธิดา นามวิจิตร,และ ถนอมวรรณ ประเสริฐเจริญสุข. (2561). ภาวะผู้นําเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น,12(4), 83-94.
พิมพ์ศนิตา จึงสุทธิวงษ์. (2563). โปรแกรมการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักวิชาการศึกษาสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
วริศรา ศิริมงคล และ รัชนิวรณ์รณ อนุตระกูลชัย. (2562). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต20. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6(3), 687-705.
วิมล จันทร์แก้ว. (2555). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.
ศักดา ทองดี. (2559). การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. สืบค้น 10 กรกฎาคม 2563 จาก http://www.thaiedresearch.org/index.php/home/paperview/951/?
สมทรง นัทธีศรี. (2561). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2. วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,16(2), 64-77.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.
Kouzes, J. & Posner, B. (1995). The Leadership Challenge: How to Keep Extraordinary Things Done in Organization. San Francisco CA: Jossey – Bass.
Robinson, K. (2007). The Principle of Creative Leadership. New York : Mcgraw-Hill.

Downloads

Published

2020-12-09