การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคแบบ STAD ร่วมกับเทคนิค KWDL ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Authors

  • ปฏิภาณ ชาติวิวัฒนาการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • คมสัน ตรีไพบูลย์
  • คงรัฐ นวลแปง

Keywords:

Student Team – Achievement Division (STAD), KWDL techniques, Mathematical Problem Solving Ability, Learning Achievement

Abstract

Abstract

The purposes of this research were to compare the students mathematical problem solving ability and learning achievement students after using Student Team – Achievement Division (STAD) with KWDL techniques of Mathayomsuksa III with 70 percent achievement criterion. The subjects of this study were 25 students in Mathayomsuksa 3/3 in the first semester of the 2019 academic year at Piboonbumpen demonstration school Burapha university. They were randomly selected by using cluster random sampling. The instruments were; 5 lesson plans, mathematical problem solving ability test with reliability of .78 and mathematical achievement test with reliability of .91. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test for one sample. The finding was as follows:

  1. The mathematical problem solving ability of the sample group after using Student Team – Achievement Division (STAD) with KWDL techniques was higher than 70 percent criterion at .05 level of statistical significance.
  2. The mathematics achievement of the sample group after using Student Team – Achievement Division (STAD) with KWDL techniques was higher than 70 percent criterion at .05 level of statistical significance.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
นิรันดร์ แสงกุหลาบ. (2547). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องโจทย์ปัญหาทศนิยมและร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล และตามแนว สสวท.(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บุญเพ็ญ บุบผามาตะนัง. (2543). บัญญัติ 9 ประการของการพัฒนาการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์. วารสารการศึกษา กทม, 23(7), 23-26.
ปรีชา เนาว์เย็นผล. (2537). หน่วยที่ 12 การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์. ใน ประมวลสาระชุดวิชาสารัตถะและวิทยวิธีทางคณิตศาสตร์ หน่วยที่12 - 15. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พิมพาภรณ์ สุขพ่วง. (2548). การพัฒนาผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือกันแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) ร่วมกับเทคนิค KWDL(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รุจิรัตน์ พรหมรักษ์. (2553). การศึกษาปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อความสามารถในการให้เหตุผล ทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสานักวานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ลดารัตน์ สงวรรณา. (2553). ผลการจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์แบบเว็บเควสท์เรื่อง ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น ทีมี่ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วัชรา เล่าเรียนดี.(2556). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด. นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิชัย พาณิชย์สวย. (2546). สอนอย่างไรให้เด็กเก่งโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: บริษัทพัฒนา คุณภาพวิชาการ.
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2554). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์. เอกสารคำสอน. ชลบุรี: ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศศิธร เวียงวะลัย. (2556). การจัดการเรียนรู้. กรุงเทพ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์
ศิริพัฒน์ คงศักดิ์. (2550). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่องเวลาของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล และ การจัดการเรียนรู้ตามแนว สสวท. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2560). ค่าสถิติพื้นฐานคะแนน O-NET มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2560, จากhttp://www.niets.or.th/
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). สรุปผลการวิจัย PISA 2015. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2560, จากhttps://drive.google.com/file/d/0BwqFSkq5b7zScUJOOV9ldUNfTlk/view?pli=1
สิริพร ทิพย์คง. (2536). เอกสารคำสอนวิชา ทฤษฎีและวิธีการสอนวิชาคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สิริพร ทิพย์คง. (2544). การวิจัยการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2521-2542. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สิริพร ทิพย์คง. (2545). หลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว).
อัมพร ม้าคนอง. (2554). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การพัฒนาเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Davidson, Neil. (1990). Small group cooperlative learning in mathematics in teaching and learning mathematics in the 1990s, 1990 yearbook. edited by Thomas J.Cooney and Christian R. Hirsch. Virginia : The National Council of Teacher of Mathematics.
Shaw Jean M.; Others. (1997). Coopertive problem solving using KWDL as an organizational technique. U.S.A.: Teaching Children Mathematics, 3(39), 482-486
Slavin. (1995). Cooperative learning theory, research, and practice. Boston: Allyn and Bacon.

Downloads

Published

2020-12-09