รูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดสะเต็มศึกษาของโรงเรียนในเครือข่ายศูนย์สะเต็มศึกษาภาค

Authors

  • สาวิตรี สิทธิชัยกานต์ nonthaburi
  • ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์

Keywords:

Academic Administration Model to Stem Education

Abstract

The objectives of this research are to: 1) study the approach on academic administration in regard to STEM education of the network schools in regional STEM Education Center, and 2) create an academic administration’s model according to STEM education.  The sampling group according to this research would be the school administrators, teachers in Science Department, teachers in Mathematics Department and teachers in Career and Technology of the network schools in regional STEM Education Center, total 296 persons.  Research Procedure is 1) Study, analyze and synthesize basic information, 2) Study the academic administration guidelines in regard to STEM Education of the network schools in regional STEM Education Center, 3) Draft the academic administration’s model according to STEM education, 4) Check the quality of the model and 5) Research report. The research instrument would be questionnaire related to the approach on academic administration in regard to STEM education of the network schools in regional STEM Education Center.  This questionnaire has the Index of Item - Objective Concurrence (IOC) = 0.93, and reliability = 0.958.  The statistics that used for data analysis were percentage, average, standard deviation, and exploratory factor analysis.    

The findings of this research were as follows: 

           1) The approach of academic administration according to STEM education of network schools in regional STEM Education Center should preliminarily focus on developing school’s curriculum, and on developing innovative media and educational technology, development of teaching process and evaluation respectively.

           2) The model of academic administration according to STEM education is CUSA Wheel.  “C” stands for Curriculum, which means a development of STEM-focused curriculum. “U” stands for Understanding, which means a clear understanding on STEM education.  “S” stands for Supporting, which means to support academic management in relation to STEM education.  Lastly, “A” stands for Assessment, which means assessment, measurement and evaluation through STEM education approach.  Such model covers four academic areas, including; development of curriculum, development of learning process, measurement, evaluation and innovation of media/ technology for education.  In this regard, the systematic management will be applied to every aspects of the model that consists of inputs, processes, outputs and feedbacks.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). คู่มือครูการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ:องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
_____________. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กาญจน์ เรืองมนตรี. (2554). การบริหารงานวิชาการและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ์.
กุลชญา เที่ยงตรง. (2550). การบริหารงานวิชาการตามแนวปฏิรูปการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียนเทศบาล เขตการศึกษา 5. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต.กาญจนบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
จิราพร รอดพ่วงและคณะ. (2560). การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ การคิดอย่างเป็นระบบ และการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู.Veridian E-Journal 9, 1 (มกราคม-เมษายน): 281-296.
จำรัส อินทลาภาพร. (2558). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา สำหรับครูระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ทักษิณ อารยะจารุ . (2548). การศึกษาการบริหารงานวิชาการโดยใช้ วงจรคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
นคร ตังคะภิภพ. (2553). รูปแบบสถานศึกษา นาเสนอต่อคณะทางานปฏิรูปการศึกษาเพื่อสุขภาวะคนไทย. วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2553. (เอกสารอัดสาเนา)
นงลักษณ์ เรือนทอง. (2550). รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล. วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร
นิลวรรณ วัฒนา. (2556). การศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดชลบุรี. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พรทิพย์ บรรเทา. (2558). แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 (เลย – หนองบัวลำภู). วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
พรทิพย์ ศิริภัทราชัย.(2556). STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ :
วารสารนักบริหาร ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 56).
พิณสุดา สิริธรังศรี. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง รูปแบบกลไกการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.
ภาวิดา ธาราศรีวิสุทธิ และคณะ. (2542). หลักและทฤษฎีบริหารการศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย หน้า 6
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.
มณีรัตน์ สุวรรณวารี. (2555). https://www.gotoknow.org/posts/tags สืบค้นเมื่อ 24/6/2560
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช. (2550). การพัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนหน่วยที่ 1-7. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณการพิมพ์
รุจิร์ ภู่สาระ. (2551). การพัฒนาหลักสูตร ตามแนวปฏิรูปการศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : บุ๊คพอยท์
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2553). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พิมพ์ครั้งที่ 4. สงขลา : บริษัทนำศิลป์โฆษณา จำกัด
โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย. (2559). https://www.vcharkarn.com/stem/505646 สืบค้นเมื่อ 25 /04/60
วิชัย วงษ์ใหญ่และมารุต พัฒผล. (2558). จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา :
กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนา.พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ :บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ .
วัชรินทร์ ปะนามะเก และคณะ. (2558). การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 . นครพนม : วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม ; ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2558 หน้า 52-61
ศุภชัย เมืองรักษ์. การคิดเชิงระบบในการบริหาร(Systematic Thinking).สืบค้นจาก202.183.190.2>BusinessResult62. วันที่ 7 กรกฎาคม 2559.
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบ STEM Education สอนอย่างไรให้เป็น Active Learning ตามมาตรฐานสากล.โครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา.
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.(2549).การประเมินสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อจัดทำแผนพัฒนาตนเอง (ID-PLAN) และแผนพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ(CAREER PLAN). นครปฐม.ฝ่ายวิชาการ โครงการพัฒนาระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี .(2557). คู่มือเครือข่ายสะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ
_____________. (2557). ความรู้เบื้องต้นสะเต็ม. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สรรเสริญ โปร่งจันทึก. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการบริหารของผู้บริหารกับประสิทธิผลของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในจังหวัดเพชรบุรี. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
สุเทพ ตระหง่าน และคณะ. (2558). รูปแบบการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารบริหารการศึกษา มศว.
สันติ บุญภิรมย์. (2553). การบริหารงานวิชาการ . กรุงเทพฯ : บุ๊คพอยท์.
เอกวินิต พรหมรักษา. (ม.ป.ป.). https://plus.google.com/101167256949203235290 สืบค้นเมื่อ 23/6/2560
Anila Asghar , Roni Ellington et al.(2012).Supporting STEM Education in Secondary Science Contexts.The Interdisciplinary Journal of Problem-based Learning , 6(2),85-126.
Chuang , S. Y.(2009). A study of developing project-based STEM learning activity.
Unpublished master thesis , National Kaohsiung Normal University, Kaohsiung ,Taiwan.
Fayol, H. 1964. General and Industrial Management. (trans. C Storrs). London: Pitman.
Kristen Billiar , Jeanne Hubelbank , Thomas Oliva and Terri Camesano.(2014). Advances in Engineering Education.Teaching STEM by Design. Winter 4(1)
Sunyoung Han , Bugrahan Yalvac and Mary M.Capraro, & Robert M.Capraro.(2015).
In-service Teachers’ Implementation and understanding of STEM Project BasedLearning. Eurasia Journal of Mathematics , Science and Technology Education.

Downloads

Published

2019-03-26