ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การ โดยมีการรับรู้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนแปลงและบรรยากาศองค์การเป็นตัวแปรกำกับ
Keywords:
Job satisfaction, Organizational commitment, Perception of transformational leadership, organizational climate.Abstract
This research aims to study the relationship between job satisfaction and organizational commitment of operational officers of a Thai autonomous university through a use of perception of transformational leadership and organizational climate as moderators.
The subjects were 309 operational officers of a Thai autonomous university. Data were collected through the questionnaire which consisted of five parts as follows; Personal factors, Job satisfaction (r = .902), Perception of transformational leadership (r = .971), Organizational climate (r = .964), and Organizational commitment (r = .820). Frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and Hierarchical multiple regression analysis were used to analyze the data.
The results showed that;
1) Job satisfaction and organizational commitment were statistical positive correlated significant at .01 level.
2) Job satisfaction and organizational commitment were correlated with perception of transformational leadership as the partially influenced moderator.
3) The correlation between job satisfaction and organizational commitment were not influenced organizational climate as the moderator.
References
จิราภา ปะวัง. (2558). อิทธิพลบรรยากาศองค์การที่มีต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย ในเครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชนะรัฐ เพ็ญประชา. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนแปลงของหัวหน้างานขายการเสริมสร้างพลังอำนาจในการทำงาน กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานขายอาหารและยาสัตว์ บริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เตชทัต ใจท้วม. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนแปลงตามการรับรู้ของพนักงานกับการเสริมสร้างพลังอำนาจเชิงจิตวิทยาในงาน และความผูกพันในงานของพนักงาน: กรณีศึกษาพนักงานสายการบินแห่งหนึ่งในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เตือนใจ แซ่หลี. (2557). ผลของการรับรู้บรรยากาศองค์การและความพึงพอใจในงานที่มีต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรม เขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ทิวาพร รักงาม. (2559). ความสัมพันธ์ของรูปแบบภาวะผู้นำและการรับรู้บรรยากาศองค์การต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ โดยมีความผูกพันต่อองค์การเป็นตัวแปรกำกับในบุคลากรทางการพยาบาลสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นภาพร ไพบูลย์วัฒนชัย. (2557). การรับรู้ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนแปลง การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ: กรณีศึกษาพนักงานระดับปฏิบัติการของบริษัทจำหน่ายรถยนต์แห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บุญชนะ เมฆโต. (2560). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อความผูกพันองค์การและการตั้งใจลาออกของพนักงานระดับปฏิบัติการ: กรณีศึกษาบริษัทผลิตวัสดุบรรจุภัณฑ์แห่งหนึ่ง. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 9(1), 36-59.
ปทุมทิพย์ ทิพย์โสภา. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บรรยากาศองค์การ ผลการปฏิบัติงานและความผูกพันต่อองค์การของพนักงานสายปฏิบัติการ แผนกสินเชื่อในจังหวัดเชียงใหม่ (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภคพร ภู่ไพบูลย์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบปฏิรูป การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและความพึงพอใจในงาน กรณีศึกษา: กลุ่มงานสนับสนุนและบริการของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภารดี กนิษฐานนท์. (2557). การรับรู้บรรยากาศองค์การ ความผูกพันต่อองค์การ และการมีพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ: ของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิริอร วิชชาวุธ. (2554). จิตวิทยาการเป็นผู้นำ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุกฤษฎิ์ ขวัญเมือง. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำแบบสร้างความเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อมรา สุยะใหญ่. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของงานและความพึงพอใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ ของพนักงาน บริษัทดริสเซ่น แอร์คราฟท์ อินทีเรีย ซิสเต็ม ไทยแลนด์ จำกัด จังหวัดลำพูน (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อาภาพร ทัศนแสงสูรย์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บรรยากาศองค์การในเชิงบวกความผูกพันต่อองค์การ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ในวิสาหกิจขนาดย่อม ประเภทอุตสาหกรรมการผลิตถุงพลาสติก (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อิสระ เทพอารักษ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางจริยธรรม ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อองค์การ กรณีศึกษา: พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Baron, R., & Kenny, D. (1986). The moderator-mediator variable distinction in social psychological research: conceptual, strategic, and statistical considerations. Journal of Personality and Social Psychology, 51(6), 1173-1182.
Bass, B., & Avolio, B. (1994). Improving organizational effectiveness through transformational leadership. Newbury Park, CA: SAGE.
Kim S.-g. & Kim J. (2014). Integration strategy, transformational leadership and organizational commitment in Korea’s corporate split-offs. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 109(2), 1353-1364.
Litwin, G., & Stringer, R. (1968). Motivation and organization climate. Boston: Division of Research, Graduate School of Business Administration, Harvard University.
Luthans, F. (1995). Organizational behavior (7th ed.). New York: McGraw–Hill.
Porter, W., Steers, R., Mowday, R. & Boulian, P. (1974). Organizational commitment, job satisfaction and turnover among psychiatric technicians. Journal of Applied Psychology, 59(5), 603-609.
Yamane, T. (1973). Statistic and introductory analysis (3rd ed.). New York: Harper & Row