Thai-Cambodian Border Management at Prasat Sadok Kok Thom Vicinity (1991–2020): Legitimacy, Restoration and Development as a Tourist Destination
Main Article Content
Abstract
The study aims to explore Thai-Cambodian border management at Prasat Sadok Kok Thom vicinity from 1991 to 2020. The research adopted historical approach by using document examination and field research which conducted at Prasat Sadok Kok Thom vicinity, Khok Sung Sub-district, Khok Sung District, Sa Kaeo Province. The study reveals that Prasat Sdok Kok Thom is of great historical and stability importance. It is also located near the Thai-Cambodian border, so three main agencies are responsible for the management, namely the security agency, the Fine Arts Department and the local organization. The results of the study of Thai-Cambodian border management at Prasat Sadok Kok Thom vicinity, 1991–2020 can be divided into two phases-border management in 1991-2013 and 2014-2020. The goal of the border management in 1991-2013 is to emphasize the legitimacy of Prasat Sadok Kok Thom amid the dispute about the land and Preah Vihear Temple. The security agency rented the area around Prasat Sdok Kok Thom to build Thai-Cambodian Self-Defense Village and evacuated Laos’ ethnic groups to live in. The village was decorated with Thailand’s national flag. In addition, the Fine Arts Department hastily proceeded to renovate Prasat Sadok Kok Thom. The border management in 2014-2020 also still emphasizes the legitimacy of Prasat Sadok Kok Thom by establishing Prasat Sadok Kok Thom as the 11th historical park of Thailand and changing the slogan and the symbol of Khok Sung District. At the same time, it also focused on building international cooperation and developing Prasat Sadok Kok Thom to be a tourist attraction. It is suggested that further research on Thailand-Cambodia border management through the operations of Cambodia should be conducted to provide more comprehensive knowledge about border management at Prasat Sadok Kok Thom vicinity.
Article Details
References
กรมศิลปากร. (2529). จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 อักษรขอม พุทธศตวรรษที่ 15 – 16. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
______. (ม.ป.ป.). ปราสาทสด๊กก๊อกธม. สืบค้นจาก http://www.qrcode.finearts.go.th/index.php/th/historic-site/hs-sra-kiao/sdokkokthom
กำพล จำปาพันธ์. (2559). ร่อยรอยอายธรรมเขมรโบราณและสยามอโยธยาในเขตจังหวัดสระแก้ว. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 12(2), 33-58.
ข่าวในพระราชสำนัก. (2553, สิงหาคม). ข่าวในพระราชสำนัก วันอังคารที่ 31 สิงหาคม 2553 (ช่อง Thai PBS) (1/2). สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=8eGu2OrKuXY
จตุพร ดอนโสม. (2563). ปฏิบัติการในชุมชนชายแดนรัฐจัดตั้งบนพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา.
เจษฎา ความคุ้นเคย. (2561). การพัฒนารูปแบบเขตเศรษฐกิจชายแดนไทย - กัมพูชา เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(3). 71-86.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2552). ลัทธิชาตินิยมไทย/สยามกับกัมพูชาและกรณีศึกษาปราสาทเขาพระวิหาร. กรุงเทพฯ: โครงการห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ป๋วยอึ๊งภากรณ์.
ชิตพล ชัยมะดัน. (2563). ผลการดำเนินงานตามนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ: กรณีศึกษาจังหวัดสระแก้ว. วารสารการเมืองการปกครอง, 10(2), 48-66.
ทิพย์สุดา ธรรมลาภากุล. (2560). การเมืองในการกำหนดนโยบายพื้นที่เศรษฐกิจการค้าชายแดน จุดผ่านแดนถาวรช่องสะงำ อำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
ธีรพงษ์ เรืองคำ. (2559). วิเคราะห์หลักกฎหมายระหว่างประเทศในคดีตีความคำพิพากษาเกี่ยวกับปราสาทพระวิหาร ค.ศ. 2013. (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผู้จัดการ. (2551, สิงหาคม). กมธ.กิจการชายแดน ลงสระแก้ว หลังเขมรประกาศยึด”สด๊กก๊อกธม. สืบค้นจาก http://www.manager.co.th/asp-bin/mgrView.asp?NewsID =9510000099671
ฝ่ายกิจการพลเรือน กองกำลังบูรพา. (2545). บัญชีรายชื่อสมาชิกชุดปฏิบัติการป้องกันและพัฒนา อำเภอตาพระยา บ้านหนองหญ้าแก้ว.
______. (ม.ป.ป.). สรุปแบบบัญชีรายชื่อพื้นที่ป่าไม้ทบ.ได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ จ.สระแก้ว.
พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. (2556). ประวัติศาสตร์ผู้คนบนเส้นพรมแดนเขาพระวิหาร. กรุงเทพฯ: มติชน.
ม.ร.ว.สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์ (2536). ปราสาทเขาพระวิหาร ศาสนบรรพตที่โดดเด่นที่สุดในภาคพื้น เอเชียอาคเนย์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
ราฆพ บัณฑิต. (2546). ปราสาทสด๊อกก๊อกธม: ปราสาทเขมรทรงพุ่มรุ่นแรกในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วสุ โปษยะนันทน์. (2552). อนัสติโลซิสเพื่อการบูรณะปราสาทสด๊กก๊อกธม. (วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วันชัย ไพเราะ. (2559). พื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา อำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว: พื้นที่ ผู้คน อำนาจและการปรับตัว. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
สัญญารัตน์ มีสุวรรณ. (2558). ความขัดแย้งเหนือดินแดนปราสาทพระวิหารระหว่างไทยและกัมพูชา: ผลกระทบ และแนวโน้มหลังคำพิพากษาตีความของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2556. โครงการผลิตและเผยแพร่ตำราและผลงานวิชาการ, วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ( ม.ป.ป.). แผนบริหารจัดการชายแดนด้านความมั่นคง (พ.ศ. 2549–2564). สืบค้นจาก https://bit.ly/3ax7ILx
สุจิต วงศ์เทศ. (2562, มิถุนายน). รายการ ขรรค์ชัย-สุจิตต์ ทอดน่องท่องเที่ยว จังหวัดสระแก้ว ตอน กรุงเทพตั้งเค้าเป็นราชธานี ที่ปราสาท สด๊กก๊อกธม หลักแหล่งลัทธิเทวราช. [วีดิทัศน์]. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=Pc5BK3clwY8
สุชาติ ผดุงกิจ. (2558). เขตเศรษฐกิจพิเศษกับความคาดหวังของคนไทย. วารสารรัฏฐาภิรักษ์, 57(2), 08-18.
สุรชาติ บำรุงสุข. (2553). เขตแดน พรมแดน ชายแดน.จุลสารความมั่นคงศึกษา, จุลสารความ มั่นคงศึกษา ฉบับที่ 71.
หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมที่ 1 กองกำลังบูรพา. (ม.ป.ป.). ข้อมูลการเก็บกู้วัตถุระเบิดพื้นที่ SHA ปราสาทสด๊กก๊อกธม.
อภิชาติ ทวีโภคา. (2549). จารึกสด๊กก๊อกธม:รหัสผ่านประวัติศาสตร์ขอม. สระแก้ว: ช.ดำรงชัยการพิมพ์.
อุทยานประวัติศาสตร์สด๊กก๊อกธม. (2563). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นจาก http://virtualhistoricalpark.finearts.go.th/prasatsadokkokthom/index.php/th/
Etienne Aymonier. (1901). Le Cambodge. Tome II, Les Provinces siamoises. Paris: Ernest Leroux.
Miss Grand Thailand. (2019, July). MGT63 มิสแกรนด์สระเเก้ว. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/missgrandthailand/photos/a.1860240530788860/1860242880788625/?type=3&theater
รายชื่อผู้ให้ข้อมูลสำคัญ
จตุรพร เทียมทินกฤต. (2563, 30 กันยายน). ข้าราชการกรมศิลปากร [บทสัมภาษณ์].
ชัตรัต สกุลพราหมณ์. (2562, 29 กรกฎาคม). มัคคุเทศก์ปราสาทสด๊กก๊อกธม [บทสัมภาษณ์].
เชี่ยวชาญ แสงแก้ว. (2563, 9 กันยายน). หัวหน้าชุดแจ้งเตือนและข่าวสาร หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมที่ 1 กองกำลังบูรพา [บทสัมภาษณ์].
ธวัลรัตน์ ชัยนราพิพัฒน์. (2563, 25 สิงหาคม). หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์สด๊กก๊อกธม [บทสัมภาษณ์].
ปรีชา นุชละม้าย. (2562, 25 มกราคม). มัคคุเทศก์ปราสาทสด๊กก๊อกธม [บทสัมภาษณ์].
สนั่น รังใส. (2562, 21 สิงหาคม). ตำรวจตระเวนชายแดนที่ 12 สระแก้ว [บทสัมภาษณ์].
อภิชาต ทวีโภคา . (2562, 20 กรกฎาคม). ปลัดอำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว [บทสัมภาษณ์].