ปัจจัยมิติวัฒนธรรมและส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวประเทศญี่ปุ่นของนักท่องเที่ยวชาวไทย

Main Article Content

วัชรวิชญ์ วิยาภรณ์
พรรษวัชร์ อินทาภิรัต

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยว ปัจจัยมิติวัฒนธรรมและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยดังกล่าว ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวประเทศญี่ปุ่นของนักท่องเที่ยวชาวไทยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เคยเดินทางไปเที่ยวญี่ปุ่นจำนวน 407 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05  ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างเดินทางท่องเที่ยวญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก เพื่อพักผ่อน/ท่องเที่ยวพร้อมกับครอบครัว/ญาติ  จัดการท่องเที่ยวด้วยตนเองทั้งหมด พักในโรงแรม หาข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์/ออนไลน์/โซเชียลมีเดีย  มีค่าใช้จ่ายจำนวน 20,001-40,000 บาท และจะกลับไปท่องเที่ยวญี่ปุ่นอีกในอนาคต นักท่องเที่ยวมีความคิดเห็นต่อปัจจัยมิติวัฒนธรรมและส่วนประสมทางการตลาดอยู่ในระดับมากและมากที่สุด ตามลำดับ  โดยเฉพาะประเด็นด้านความอ่อนน้อมถ่อมตนและสิ่งแวดล้อมในสถานที่ท่องเที่ยว ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยมิติวัฒนธรรมมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวในด้าน จำนวนครั้งในการท่องเที่ยว วัตถุประสงค์ ผู้ร่วมเดินทาง การจัดการเดินทาง ประเภทสถานที่พัก วิธีการหาข้อมูลและค่าใช้จ่าย ส่วนปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการท่องเที่ยวญี่ปุ่นในด้านวัตถุประสงค์ในการท่องเที่ยว ผู้ร่วมเดินทาง การจัดการเดินทาง วิธีการหาข้อมูลและค่าใช้จ่าย

Article Details

How to Cite
วิยาภรณ์ ว. ., & อินทาภิรัต พ. . (2022). ปัจจัยมิติวัฒนธรรมและส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวประเทศญี่ปุ่นของนักท่องเที่ยวชาวไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 17(2), 59–86. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/259176
บท
บทความวิจัย
Author Biographies

วัชรวิชญ์ วิยาภรณ์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยพะเยา (2561), ปัจจุบันเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชา
การท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

พรรษวัชร์ อินทาภิรัต

ศศ.ม. (ญี่ปุ่นศึกษา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2561). ปัจจุบัน รับจ้างอิสระ

References

Chaipunha, S., & Sriprasert, U. (2016). Concept, Culture Management Theory: Adaptation under the cultural differences. Management Science Rajaphat Maha-Sarakham University Journal. 1(2), 104–116. (in Thai).

Cronbach, L. J. (1970). Essential of Psychological testing (3rd.). New York : Harper and Row.

Foreign Workers Administration. (2014). Statistics on international labour migration. Retrieved January 17, 2022, from https://www.doe.go.th/prd/alien/statistic/param/site/152/cat/82/sub/0/pull/category/view/list-label. (in Thai).

Hawkinson, E. (2013). Social Media for International Inbound Tourism in Japan: A Research Model for Finding Effective eWOM Mediums. JAFIT international tourism review. 20, 41–48.

Hofstede, G., Hofstede, G. J., & Minkov, M. (2010). Cultures and Organizations: Software of the Mind. New York : McGraw-Hill.

Japan National Tourism Organization. (2021). Number of international visitors to Japan and Number of Japanese Overseas Traveler. Retrieved January 1, 2022, from https://www.mlit.go.jp/kankocho/siryou/toukei/in_out.html.

Khunon, S. (2016). Cultural Dimensions and Hotel Commentating via Online Travel Agent Websites of Thai and Other National Customers: Samui Island. Journal of Thai Hospitality and Tourism. 11(1), 53-68. (in Thai).

Kopatta, C. (1996). Japan and The Siam Society: Thailand and Japan Relations in Decade 1927-1937. Japanese Studies Journal Thammasat University. 13(2), 88–119. (in Thai).

Kotler, P. (1997). Marketing Management: analysis, planning, implementation and control (9th ed.). New Jersey : A Simon & Schuster.

Kuo, I. H., Liu, E. K. & Chen, C. C. (2012). Modeling Japanese Tourism Demand for Asian Destinations: A Dynamic AIDS Approach. Retrieved January 1, 2022, from https://www.tandfonline.com/doi/abs/ 10.1080/10941665.2012.726926?journalCode=rapt20

Likert, R. (1961). New Patterns of Management. New York : McGraw-Hill Book Company Inc.

Malai, V. (2008). Cultural Difference and Tourism behaviour. Executive Journal. 28(2), 86-89. (in Thai).

Maslow, H. A. (1970). Maslow's Hierarchy of Needs. Retrieved January 17, 2022, from https://www.simplypsychology.org/maslow.html.

Matsuoka, K. (2017). Examining the Effects of Perceived Quality, Value, Satisfaction, and Destination Loyalty in Shiogama, Japan. Retrieved January 17, 2022, from https://www.researchgate.net/publication/339375320_

Examining_the_Effects_of_Perceived_Quality_Value_Satisfaction_and_Destination_Loyalty_in_Shiogama_Japan.

Muangsan, U. (2019). Cultural Difference Perception Influencing Thai Business’s Service Management for Middle Eastern Tourists. Social Science Journal of Prachachuen. 1(3), 38-50. (in Thai).

Ohkubo, R., & Muromachi, Y. (2014). A Study of Destination Images of Foreign Tourists to Japan by Analyzing Travel Guidebook and Review Site. Journal of the City Planning Institute of Japan. 49(3), 573–578.

Rayubsri, W. (2006). Buddhist tourism habits of Thai and foreign tourists visiting temples in Rattanakosin Island Bangkok. Retrieved January 1, 2022, from https://opac.kku.ac.th/Catalog/BibItem.aspx?BibID=b00308060. (in Thai).

Soonsan, N., Sangthong, S., & Sungthong, S. (2020). Factors Influencing Tourists’ Revisiting Intention: The Western Tourists’ Perspective Travelling in Phuket. Retrieved January 17, 2022, from https://so01.tci-thaijo.org. (in Thai).

Wiyaporn, W. (2020). Guildlines for Development Pattaya to Sustainable Shopping Tourism City of Mainland Chinese Tourists. Rajabhat Chiang Mai Research Journal. 21(3), 228-249. (in Thai).

Yamane, T. (1970). Statistic: Introductory Analysis (2nd ed.). New York : Harper and Row.