ดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง ช่องทางใหม่ทางการตลาดในยุคที่สังคมเปลี่ยนไป
Main Article Content
บทคัดย่อ
การตลาดดิจิทัล เป็นการตลาดที่เปลี่ยนการติดต่อสื่อสารแบบทางเดียวเป็นการติดต่อสื่อสารแบบสองทาง ทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้บริโภคและนักการตลาดได้อย่างรวดเร็ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสร้างลูกค้าใหม่ และการใช้ประโยชน์จากลูกค้าเก่าในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการตลาดของตนเอง โดยผ่านสื่อสังคมออนไลน์ อาทิเช่น เฟสบุ๊ก อินสตาแกรม ทวิทเตอร์ ไลน์ และ พินเทอเรสต์ ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมของผู้บริโภค มีผู้ใช้บริการจำนวนมาก อัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำการตลาดดิจิทัลผ่านโทรศัพท์มือถืออัจฉริยะโดยใช้โปรแกรมประยุกต์หรือ แอพพลิเคชั่นต่างๆ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงโดยการใช้โทรศัพท์มือถือของตนเองได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ประยุกต์ร่วมกับ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูลต่างๆ เช่น กูเกิล (Google) ทำให้การเชื่อมโยงข้อมูลทางการตลาดได้กว้างขึ้น สะดวกสบายขึ้น ต้นทุนในการจัดการต่ำลง ทำให้นักการตลาดในยุคใหม่นี้ต้องตื่นตัว และพร้อมที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี รวมถึงเครื่องมือใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปใช้ในการเรียนรู้ รับฟัง และพัฒนาการทำการตลาดให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค เกิดประสิทธิผลแก่ธุรกิจ สินค้าและตราสินค้าของตนเอง
Article Details
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
References
ณงลักษณ์ จารุวัฒน์และประภัสสร วรรณสถิตย์. สมุทรปราการ:เกียวโดเนชั่น พริ้นติ้ง เซอร์วิส. ณัฐพัชญ์วงษ์เหรียญทอง, (2557). มูลค่าของ DIGITAL MARKETING อย่ที่ไหนและสร้างอย่างไร. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จาก http://www.nuttaputch.com/มูลค่าของ DIGITAL MARKETING อยูที่ไหน/. ่ธนเดช กุลปิ ติวัน. (ม.ป.ป.). IMC Plan ตอน MADE BY YOU ชีวิตเลือกได้. ค้นเมื่อ 4 มกราคม 2558, จาก http://www.aisbrandageaward.com/download/MadeByYou_IMC.pdf. นิวัฒน์ชาตะวิทยากูล. (2010). สถิติบอก คนไทยติดวิดีโอออนไลน์ กว่า 38% เข้าดูทุกอาทิตย์. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จาก http://www.digithun.com/video-on ไลน์-stat-thailand/#sthash.u941Az4B.dpuf นุชจรินทร์ ชอบดำรงธรรม. (2553). อิทธิพลของสื่อโฆษณาในเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อกระบวนการตอบสนองของผู้บริโภค. ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปานระพี รพิพันธุ์. (2557). Thailand Zocial Awards 2014 เผยสถิติบนโลกออนไลน์และพฤติกรรมการใช้ Social Network ของไทย. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จาก http://www.it24hrs.com/2014/thai-social-network-2014/.
ปณิชา นิติพรมงคล. (2555). พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. ค้นเมื่อ4 พฤศจิกายน 2558,จากhttp://www.spu.ac.th/commarts/files/2012/07/บทความ-ปณิชา.pdf. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. (2553). รายงานผลการสำรวจกล่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี 2553. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จากhttp://www.nectec.or.th/images/pdf/internetuser/internet53.pdf สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม่ (ISMED). (ม.ป.ป.). รายงานการศึกษาขั้นสุดท้าย (Final Report)
การจัดทํายุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมรายสาขา. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จากhttp://www.sme.go.th/SiteCollectionDocuments/Digital%20Content_Final.pdf. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). บทสรุปสำหรับผู้บริหารการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/ICT-HouseExc57.pdf. Marketing Oops!. (2557). 33 สถิติ Digital Marketing ที่คุณอาจไม่เคยร้ !ู . ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2558, จากhttp://www.marketingoops.com/digital/yodalondonstat-digital-marketing/Positioning. (2557). DIGITAL TREND 2014 นักการตลาดต้องร้. ูค้นเมื่อ5 มกราคม 2558, จาก http://www.positioningmag.com/content/digital-trend-2014-นักการตลาดต้องรู้.
Socialtimes. (2557). โฆษณาโซเซียลเงินสะดัน “Social Ad” ส่อแววโต 194% ใน 4 ปี .ค้นเมื่อ4 มกราคม 2558,จากhttp://thumbsup.in.th/2014/12/social-ad-spending