ผลกระทบของทักษะทางการเงินที่มีผลต่อสภาวะหนี้สินของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

กลางใจ แสงวิจิตร
รัศมิ์จันทร์ ขวัญเมือง
พเนิน อินทะระ
พรทิพย์ จิระธำรง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของระดับทักษะทางการเงินที่มีผลต่อปัญหาหนี้สินของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ลงทะเบียนขอลดภาระหนี้กับสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ในกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งทักษะทางการเงินเป็น 3 ด้านคือ ความรู้ทางการเงิน พฤติกรรมทางการเงิน และทัศนคติทางการเงิน มีกลุ่มตัวอย่างคือข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ลงทะเบียนขอลดภาระหนี้สินกับสำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) จำนวน 235 คน โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้การวิเคราะห์สถิติถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) พบว่าพฤติกรรมทางการเงิน เป็นสาเหตุของสภาวะหนี้สินด้านจำนวนหนี้สินในปัจจุบัน โดยมีผลกระทบในเชิงลบ แต่ความรู้ทางการเงินและทัศนคติทางการเงิน ไม่เป็นสาเหตุของสภาวะหนี้สินด้านจำนวนหนี้สินในปัจจุบัน จากผลการศึกษาในครั้งนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการให้ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการเงินส่วนบุคคลสามารถนำผลการศึกษาที่ได้ไปใช้เป็นแนวทางในการอบรมให้ความรู้ทางการเงิน และวางแผนนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินของครูอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต

Article Details

How to Cite
แสงวิจิตร ก., ขวัญเมือง ร. ., อินทะระ พ. ., & จิระธำรง พ. . (2021). ผลกระทบของทักษะทางการเงินที่มีผลต่อสภาวะหนี้สินของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 16(1), 1–16. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/215618
บท
บทความวิจัย
Author Biographies

กลางใจ แสงวิจิตร, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปร.ด. (การเงิน) มหาวิทยาลัยอลายแอนท์ อินเตอร์เนชันแนล (2557), ปัจจุบันอาจารย์ประจำภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รัศมิ์จันทร์ ขวัญเมือง , คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บธ.ม. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2560)

พเนิน อินทะระ, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บธ.ม. (การเงิน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (2552), ปัจจุบันอาจารย์ประจำภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

พรทิพย์ จิระธำรง , คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บธ.ม. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2542), ปัจจุบันอาจารย์ประจำภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

References

Auepiyachut, Wilai. (2014). Financial Literacy: Determinants and its Implications for Saving Behavior. Humanities and Social Sciences Academic. 25(47). 67 – 93. (in Thai)

Bank of Thailand. (2014). Financial Literacy Report 2013. Retrived April 2, 2014, from https://www.1213.or.th/th/aboutfcc/knownfcc/Documents/2013%20ThaiFLSurvey.pdf (in Thai)

Boonpeng, Kedkan. (2017). The teacher debt crisis! Survive with “Sufficiency Economy”. Retrived March 22, 2017, from http://www.komchadluek.net/news/edu-health/256074 (in Thai)

Buaban, Narong. (2013). People’s Participation in Bangkok Governor Election (Year 2013) : A Case Study of Bangkok Noi District , Bangkok. Master of Public Administration, Siam University. (in Thai)

Janthong, Monthai. (2013). Debt of Staff of Internal Security Operations Command. Master of Economic, Dhurakij Pundit University. (in Thai)

Jiropas, Nantarad. (2008). Liability condition of elementary school teachers in hat yai district, Songkhla province. Master of Arts in Human and Social Development, Prince of Songkla University. (in Thai)

Jitudomwattana, Siranda. (2016). Liabilities of Teacher Members in the Cooperative System. Retrived June 16, 2016, from http://www.cad.go.th/cadweb_org/ewt_news.php?nid=14319 (in Thai)

Kingdee, Benjamas & Sinipanit, Panitchanat. (2009). Attitude toward Indebtedness of Teachers in Public Sector. Suddhiparitad. 23(71).147 - 160.

Kiriwan, Visakorn. (2015). Measuring Financial Skills and Participation in Stock Markets. Retrived June 16, 2016, from https://www.set.or.th/dat/vdoArticle/attachFile/AttachFile_1470741961947.pdf (in Thai)

MGR online. (2015). Asking the Prime Minister to Solve Teacher Debt’s Problem. Retrived December 15, 2016, from http://www.manager.co.th/South/ ViewNews.aspx?NewsID=9580000135257

Miphornpanyataweechok, Yuwadee. (2010). A comparative study of Thai and foreign premium coffee shop franchising in Bangkok. Master of Business Administration, Burapha University. (in Thai)

National Statistical Office. (2012). Analytical report on debt behavior of argricultural housholds 2011. Retrived October 19, 2016, from http://web.nso.go.th

National Statistical Office. (2016). The 2015 Household Socio – economic survey. Retrived August 18, 2016, from https://www.m-society.go.th/article_attach/18420/20307.pdf

Nonark, Piyamas & Chamchong, Anuchat. (2015). Factors Causing of Outstanding Debt of Welfare for Policemen Loans from Government Saving Bank, Chiang Rai Zonal. Retrived July 16, 2017, from http://utccmbaonline.com/ijbr/doc/(Edit)Id114-10-12-2015_12:05:27.pdf (in Thai)

Nunchaipruck, Korawee. (2016). Financial Literacy and Financial Behaviors of Teachers in Bangkok. Master of Business Economics, National Institute of Development Administration. (in Thai)

Pakart, Jaichanok. (2014) Knowledge Management in Educational Quality Assurance of the National Institute of Development Administration . Retrived March 13, 2017, from http://www.nida.ac.th/th/download/publication/jhaichanok.pdf (in Thai)

Pratomwong, Surapong. (2010). Alternative : Factors related to consumption of instant noodles by people in Thamak district, Chanthaburi Province. Master of Public Health, Burapa University. (in Thai)

The welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel. (2016). The Requesting Participation in the Teacher Debt Reduction Project Form. Retrived August 22, 2017, from http://www.otep-pnb.go.th/ (in Thai)

Wanasuk, Kanittha, Kosako, Jularad , & Shurwanlee, Pawanid. (2014). Household debt and the southern economy. Retrived June 16, 2017, from https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Southern/DocLib/ Household debt and the southern economy (in Thai)

Yotongyod, Marayad & Sawaddisub, Pranee. (2014). Determination of Sample Size for Research. Retrived July 16, 2017, from http://www.fsh.mi.th/km/wp-content/uploads/2014/04/resch.pdf (in Thai)