ผลกระทบของรายจ่ายภาครัฐและภาคการลงทุน ต่อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย*
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของรายจ่าย ภาครัฐ รายจ่ายลงทุนภาคเอกชน และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ โดยอาศัยข้อมูล อนุกรมเวลารายไตรมาสระหว่างปี พ.ศ.2539-2553 จากสำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และใช้แบบจำลองทางเศรษฐมิติ Vector Autoregressive Model (VAR) ในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการวิจัย พบว่า พลวตั เศรษฐกิจไทยเป็ นไปตามแนวคิดของเคนส์อย่าง เห็นได้ชัดจากผลของการแทรกแซงระบบเศรษฐกิจโดยรายจ่ายของภาครัฐในช่วงที่ผ่านมา มีส่วนสำคัญต่อการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มากกวา่ รายจ่ายลงทุน ของภาคเอกชน
Article Details
How to Cite
แสวงกุล ส. (2018). ผลกระทบของรายจ่ายภาครัฐและภาคการลงทุน ต่อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย*. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 6(1), 118–135. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/127367
บท
บทความวิจัย
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
References
ณัฐิกานต์ วรสง่าศิลป์ .(2551). เครื่องชี้แรงกระตุ้นและตัวคูณทางการคลังของไทย. ธนาคาร แห่งประเทศไทย:กรุงเทพมหานคร. รณชิต สมมิตร. (2550).บทบาทของการใช้จ่ายภาครัฐต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคของ ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2548). หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค.พิมพ์ครั้งที่13.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). รายงานผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่ 4/2553.(ออนไลน์).แหล่งที่มา:http://www. nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=95.ค้นเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์พ.ศ.2554. Asghar Zahid and Abid Irum. (2007). Performance of lag length selection criteria in three different situation. Quaid-i-Azam University Islamabad, Pakistan. Johansen, S.Statistical.(1988).Analysis of Cointegration Vectors. Journal of Economics Dynamics and Contro