พฤติกรรมและปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีผลต่อการท่องเที่ยวเชิงกีฬา: ผู้เข้าชมและนักท่องเที่ยว

Main Article Content

นิมิต ซุ้นสั้น
วิวัฒน์ แซ่หลี
อำพร วิริยโกศล

บทคัดย่อ

 การศึกษาครั้งนี่วัตถุประสงค์ 1) ศึกษาพฤติกรรมของผู้เข้าชมที่มีผลต่อการท่องเที่ยวเชิงกีฬา สำหรับสโมสรสงขลา 2) ศึกษาปัจจัยทางจิตวิทยาของผู้เข้าชมที่มีผลต่อการท่องเที่ยวเชิงกีฬา สำหรับสโมสรฟุตบอลสงขลา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้เข้าชมการแข่งขันฟุตบอลสโมสรฟุตบอลสงขลา จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถรามเป็นเครื่องมือ สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบียนมาตรฐาน รวมทั้งหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยใช้การทดสอบความสัมพันธ์ของค่าสถิติ ไคสแควร์ (Chi – Square) ผลการศึกษาพบว่า 1)ผู้เข้าชมส่วนใหญ่มีจำนวนวันพักเฉลี่ย 2-3 คืน เลือกสถานที่พักแรม คือ บ้านพักของตนเอง / ญาติ / เพื่อน โดย 5 คน และเดินทางร่วมกับเพื่อน สำหรับสถานที่ท่องเที่ยวระหว่างการเดินทางคือ แหลมสมิหลาหรือหาดสมิหลา 2) แรงจูงใจสำคัญในการเดินทางเข้าชมการแข่งขัน ได้แก่ความน่าสนใจของกิจกรรมและพบว่า ผู้เข้าชมส่วนใหญ่รับรู้และทราบการแข่งขันทางอินเทอร์เน็ต ฟุตบอลไทยลีกดิวิชั่นหนึ่งเป็นรายการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพที่รู้จักและเคยชม และพบว่าผู้เข้าชมส่วนใหญ่สามารถจดจำนักฟุตบอล

Article Details

How to Cite
ซุ้นสั้น น., แซ่หลี ว., & วิริยโกศล อ. (2018). พฤติกรรมและปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีผลต่อการท่องเที่ยวเชิงกีฬา: ผู้เข้าชมและนักท่องเที่ยว. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 7(2), 35–49. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmscrru/article/view/127149
บท
บทความวิจัย
Author Biographies

นิมิต ซุ้นสั้น

*บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการการท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2555), ปัจุบันเป็น อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาธุรกิจบริการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ** Ph.D. (Economics) University of Rhode Island (1997), อาจารย์ประจำภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ *** M.B.A. (Business Administration) Central State University (1976) ปัจจุบันเป็นรองศาสตราจารย์และนักวิชาการอิสระ

วิวัฒน์ แซ่หลี

** Ph.D. (Economics) University of Rhode Island (1997), อาจารย์ประจำภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อำพร วิริยโกศล

*** M.B.A. (Business Administration) Central State University (1976) ปัจจุบันเป็นรองศาสตราจารย์และนักวิชาการอิสระ

References

บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จำกัด. (2554). ระเบียบและข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลลีกอาชีพของประเทศไทย ประจาปี 2554. (แผ่นพับ). กรุงเทพมหานคร. บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จำกัด. วรรณนา วงษ์วานิช. (2546). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2552). ท่องเที่ยวไทยปี ’52: ชูความหลากหลายขายท่องเที่ยวแนวใหม่. รายงานการวิจัย. 15(2515): 1-8. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www. kasikornresearch.com (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554) สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติและคณะ. (2549). พฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยว ไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติในนครคุนหมิง มณฑลยูนาน ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. Chalip, Laurence, Christine B. Green, and Brad Andrew Hill. (2003). “Effects of Sport Event Media on Destination Image and Intention to Visit”. Journal of Sport Management. 17: 214–234. Faulkner, B., C. Tideswell, and A. Weston. (1998). “Leveraging Tourism Benefits from the Sydney 2000 Olympics, Keynote Presentation, Sport management: Opportunities and Change”. Fourth Annual Conference of the Sport Management Association of Australia and New Zealand, Gold Coast, Australia, 26–28 November. Gammon, Sean and Tom Robinson. (1997). “Sport and Tourism: A Conceptual Framework”. Journal of Sport Tourism. 4(3): 8-24. Garnham, B. (1996). “Ranfurly Shield Rugby: An Investigation into the Impacts of a Sporting Event on a Provincial City, the Case of New Plymouth”. Festival Management and Event Tourism. 4: 145-249. Gibson, Heather J. (1998). “Sport Tourism: A Critical Analysis of Research”. Journal of Sport Management Review. 1: 45-76. Gibson, Heather J., Cynthia Willming, and Andrew Holdnak. (2003). “Small-Scale Event Sport Tourism: Fans as Tourists”. Journal of Tourism Management. 24: 181-190. Green, B., and L. Chalip. (1998). “Sport tourism as the Celebration of Subculture”. Annals of Tourism Research. 25: 275–292. Higham, J. (1999). “Commentary-Sport as an Avenue of Tourism Development: An Analysis of the Positive and Negative Impacts of Sport Tourism”. Current Issues in Tourism. 2(1): 82-90. Hinch, T.D. and J.E.S. Higham. (2001). “Sport Tourism: A Framework for Research”. International Journal of Tourism Research. 3: 45-58. Hritz, Nancy and Craig Ross. (2010). “The Perceived Impacts of Sport Tourism: An Urban Host Community Perspective”. Journal of Sport Management. 24: 119-138. Irwin, R., and M. Sandler. (1998). “An Analysis of Travel Behavior and Event-Induced Expenditures among American Collegiate Championship Patron Groups”. Journal of Vacation Marketing. 4(1): 78–90. Kotler, Philip and Kevin Lane Keller. 2006. Marketing Management. 12th ed. New Jersey: Pearson Prentice Hall. Kurtzman, Joseph. (2005). “Sports Tourism Categories”. Journal of Sport Tourism. 10(1): 15-20. Nogawa, Haruo, Yasuo Yamaguchi, and Yumiko Hagi. (1996). “An Empirical Research Study on Japanese Sport Tourism in Sport-For-All Events: Case Studies of a Single-Night Event and a Multiple-Night Event”. Journal of Travel Research. 35(2):46-54. Walo, M., A. Bull, and H. Breen. (1996). “Achieving Economic Benefits at Local Event: A Case Study of Local Sport Event”. Festival Management and Event Tourism. 4:95-106. Weed, Mike and Chris Bull. (1997). “Influences on Sport Tourism Relations in Britain: The Effects of Government Policy”. Tourism Recreation Research. 22(2): 5-12. Yusof, A Minuddin, Mohd Sofian Omar-Fauzee, Parilah Mohd Shah, and Soh Kim Geok. (2009). “Exploring Small-Scale Sport Event Tourism in Malaysia”. Research Journal of International Studies. 9: 47-58.