ผลกระทบความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจที่มีต่อการเปิดเผยข้อมูลบัญชีสิ่งแวดล้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตที่ได้การรับรอง ISO 14001 ในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลกระทบระหว่างมิติของความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจกับการเปิดเผยข้อมูลบัญชีสิ่งแวดล้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตที่ได้รับการรับรอง ISO 14001 ในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจาก ผู้บริหารฝ่ายบัญชี/ผู้จัดการฝ่ายบัญชีของธุรกิจ ได้รับตอบกลับจำนวน 138 ราย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณ (Multiple Regression Analysis)
ผลการศึกษาพบว่ามิติด้านการประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม และด้านการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคมของความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมีผลกระทบเชิงบวกต่อการเปิดเผยข้อมูลบัญชีสิ่งแวดล้อมของธุรกิจ แต่ด้านการเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรมมีผลกระทบเชิงลบต่อการเปิดเผยข้อมูลบัญชีสิ่งแวดล้อมของธุรกิจ
Article Details
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
References
กรกริช วัฒนาเลขาวงศ์. (2553). ความคิดเห็นของนักบัญชีที่มีต่อการเปิดเผยข้อมูลการบัญชีสิ่งแวดล้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2559). รายชื่อผู้ได้รับการรับรอง ISO 14001 ในประเทศไทย. [Online] Available https:
https://app.tisi.go.th/syscer/14000_t.html. [2559, พฤษภาคม 4].
กฤชณัท แสนทวี. (2553). ความคาดหวังของประชาชนต่อความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ. วิทยานิพนธ์ สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
คณะกรรมการกลุ่มความร่วมมือทางวิชาการเพื่อพัฒนามาตรฐานการเรียนการสอนและการวิจัยด้านบริหาธุรกิจแห่งประเทศไทย. (2555). แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : เมจิกเพรส.
คณะทำงานส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทจดทะเบียน. (2551). เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม Corporate Social Responsibility Guldellnos. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไอคอนพรินติ้ง.
ธิติมา ทองสม และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของโรงงานยาสูบ ภาพลักษณ์ของโรงงานยาสูบ และทัศนคติการบริโภคยาสูบ. วารสารวิทยาการจัดการ. มหาวิยาลัยราชภัฎเชียงราย. 9 (1) : 1-23.
ธีรพร ทองขะโชค และอาคม ใจแก้ว. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 30 (1) : 23-51.
ธีรพร ทองขะโชค. (2556). ความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2554). ทฤษฎีการบัญชี. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : ทีพีเอ็น เพรส.
นภาพร ขันธนภา และศานิต ด่านศมสถิต. (2547). จริยธรรมและสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจ Ethics and business environments. กรุงเทพฯ : ท๊อป.
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม. (2559). 30 คดีดัง ดคีสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย. [Online] Available HTTP: https://www.enlawfoundation.org/newweb/?p=2362. [2559, กุมภาพันธ์ 4].
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2552). การบัญชีสิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาชีพบัญชี. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 5 (12) : 21-24.
สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์. (2559). CSR คืออะไร. [Online] Available HTTP: https://www.thaicsr.com. [2559, มีนาคม 5].
อิสรีย์ โชว์วิวัฒนา. (2553). บทบาทนักบัญชี : การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม. บทความสัมภาษณ์พิเศษ. คณะบัญชี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. วารสารกรมบัญชีกลาง. 51 (3) : 47-51.
Aaker, D. A., V. Kumar, and G. S. Day. (2001). Marketing Research. New York : John Wiley and Sons.
Archie B Carroll. (1998). The four faces of corporate citizenship. Business and society review. 100 (1) : 1-7
Barnard, C. I. (1938). The functions of the executive. Cambridge, MA: Harvard University Press.
Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making. 4 th ed. NY : JohnWiley & Johnson.
Catriona P., & Nicholas J. P. (2012). Whose rights? Professional discipline and the incorporation of a (human) rights framework: The case of ICAS. Critical Perspectives on Accounting. 23(1) : 17-35
Chan, M, C., Watson, J., & Woodliff, D., (2014). Corporate Governance Quality and CSR Disclosures. Springer. Journal of business Ethics. 125(1) : 59-73.
Chong-En B., Qiao L., Joe L., Frank M. S., & Junxi Z. (2004). Corporate governance and market valuation in China. Journal of Comparative Economics. 32(4) : 599–616
Corrine C. (2016). Good governance and strong political will: Are they enough for transformation?. Land Use Policy. 58(15) : 545-556
Dayuan Li, Mi Zheng, Cuicui Cao, Xiaohong Chen, Shenggang Ren, & Min Huang (2017). The impact of legitimacy pressure and corporate profitability on green innovation: Evidence from China top 100. Journal of Cleaner Production. 141 : 41-49
Diego F. (2016). Beyond “Good Governance”: The Multi-level Politics of Health Insurance for the Poor in Indonesia. World Development. 87 : 291-306
Friedman, A. L., & Miles, S. (2006). Stakeholders: Theory and practice. New York, NY: Oxford University Press.
Googins, Bradley K., Philip H. Mirvis, and Steven A. Rochlin. (2007). Beyond "good company": next generation corporate citizenship. New York, NY: Palgrave Macmillan.
Juan G. C. N., Carmelo R., Eduardo G. M., & Anthony K.P. W. (2016). Linking social and economic responsibilities with financial performance: The role of innovation. European Management Journal. 34(5) : 530-539
Maria, J. Masanet – Llodra. (2006). Environmental Management Accounting : A Case study Research on Innovative strategy springer. Journal of business Ethics. 68(1) : 393-408.
Post, J. E., Lawrence, A. T., & Weber, J. (2002). Business and society: Corporate strategy, public policy, ethics. Boston, MA: McGraw-Hil.
Simmons, J. (2004). Managing in the post-managerialist era: Towards socially responsible corporate governance. Management Decision, 42 (3/4), 601-611.
Stephen, B,. Hongwei , H,. & Kamel, M. (2015). Corporate Social Responsibility, Employee Organizational Identification, and Creative Effort : The Moderating Impact of Corporate Ability. Group & Organization Management. ISSN : 1059-6011. 40(3) : 323-352.
Steven L. B., Batia M. W., Marion F., & Sara L. W. S. (2013). Fairness lies in the heart of the beholder: How the social emotions of third parties influence reactions to injustice. Organizational Behavior and Human Decision Processes. 121(1) : 62-80