ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความต้องการใช้บริการชำระเงินผ่านทางแอพพลิเคชั่นสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะหลังจากการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา-19 จึงมีความสำคัญในการพัฒนาการให้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยการยอมรับและใช้เทคโนโลยีในการใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส (2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส และ(3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส ในจังหวัดนนทบุรี
การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนนทบุรีและเคยใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส ผู้วิจัยได้กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย ตามวิธีการคำนวณของเครซี่และมอร์แกน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยการยอมรับและใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่ง 3 ลำดับแรกคือ ด้านสภาพสิ่งอำนวยความสะดวก รองลงมาคือ ด้านความคาดหวังในความพยายาม และด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ (2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยลำดับแรกคือ ด้านความมั่นใจในการใช้บริการชำระเงิน และ (3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้บริการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเค พลัส ในจังหวัดนนทบุรี คือ ด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความคาดหวังในความพยายาม และอิทธิพลทางสังคม โดยด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพเป็นปัจจัยที่มีผลมากที่สุด
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กนกวรรณ บุญมีลาภ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจและพฤติกรรมการใช้งานกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-WALLET) ของผู้บริโภค GENERATION X และ GENERATION Y. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2563). ‘New Normal’ คืออะไร? เมื่อโควิด-19 ผลักเราสู่ชีวิต 'ปกติวิถีใหม่' ! สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2566, จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/882508
กฤษฎา ฟักสังข์ และ สมชาย เล็กเจริญ. (2564). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำแพ็กเกจทั่วร์ผ่านแอปพลิเคชันอโกด้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชากรมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 41(3), 37-55.
กสิกรไทย. (2566). KBank named among The World’s Best Trade Finance Providers 2023. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566, จาก https://www.kasikornbank.com/en/news/pages/%E0%B8%BAbest-trade-finance-2023.aspx
กองบรรณาธิการไทยรัฐออนไลน์. (2567). TrueMoney ขึ้นแท่นแอปฯ ไทย ยอดดาวน์โหลดสูงสุด รองลงมา K PLUS, Krungthai NEXT และ SCB EASY. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จากhttps://www.thairath.co.th/money/tech_innovation/tech_companies/2754455
กัลย์ ปิ่นเกษร. (2564). เครื่องมือวิจัยและตรวจสอบคุณภาพ. ใน ประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยธุรกิจและการจัดการดำเนินงาน (หน่วยที่ 5, น. 1-36). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กัลยา วานิชย์บัญชา และ ฐิตา วานิชย์บัญชา. (2554). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชรินทร์ เขียวรัตนา. (2563). ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการ QR Code ผ่านสมาร์ทโฟน กรณีศึกษา ลูกค้าธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน) ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, คณะวิทยาการจัดการ.
ฐานเศรษฐกิจ. (2567). คลังเปิดเสรีธนาคารไร้สาขา กระตุ้นแข่งขันการเงิน. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.thansettakij.com/finance/financial-banking/590203
ณิชาวิช เจริญศรีศิลป์. (2564). ปัจจัยด้านการออกแบบแอพพลิเคชัน Grab ทีส่งผลต่อการใช้งานของผ้บริโภค. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, วิทยาลัยการจัดการ.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2565). ทิศทางการพัฒนาระบบการชำระเงินภายใต้ภูมิทัศน์ใหม่ภาคการเงินไทย. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.bot.or.th/content/dam/bot/financial-innovation/digital-finance/Payment-DirectionalPaper-TH.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2566). ระบบการชำระเงิน. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.bot.or.th/th/our-roles/payment-systems/about-payment-systems.html
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2567). ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking และ Internet Banking. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก https://app.bot.or.th/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=949&language=TH
นันตชัย กลับดี. (2562). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับโมบายแบงค์กิ้งแอพพลิเคชั่น ของกลุ่มประชากรในเขตจังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, บัณฑิตวิทยาลัย.
เนชั่นแนล อี เพย์เม้นท์. (ม.ป.ป.). National e-Payment เป็นระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก http://www.epayment.go.th/home/app/
ปิยพัชร วิมลโสภณกิตติ และ อารีย์ นัยพินิจ. (2566). การยอมรับการใช้กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในยุคสังคมไร้เงินสด. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 10(2), 103-120.
พรรณวดี เลิศลุมพลีพันธุ์. (2567). คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ และการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการกระเป๋าเงินดิจิทัลของผู้บริโภคกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายในเขตพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี,18(1), 127-138.
พุดทะสอน สิลิโพไช. (2565). การวิเคราะห์ปัจจัยองค์ประกอบเชิงสำรวจของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภค เขตนครไกสอนพมวิหาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี, 5(1), 31-44.
เพ็ญทิพา ทองคำเภา. (2567). มองศึก Virtual Bank ไทย เทียบชั้นผู้เล่นบนเวทีโลกได้หรือไม่. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2567, จาก https://techsauce.co/news/virtual-bank-thailand-can-it-compete-world-players
ลักขณา ธรรมสุภาพงศ์. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับบริการชำระเงินระบบพร้อมเพย์ของผู้บริโภคในจังหวัดจันทบุรี. วารสารวิจัยรำไพรรณี, 16(2), 156-165.
วรรณนิสา คำจะ. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจที่จะใช้โมบายแบงก์กิ้งของลูกค้าธนาคารไทยพาณิชย์อย่างต่อเนื่อง. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, บัณฑิตวิทยาลัย.
วิชาดา ไม้เงินงาม. (2562). พฤติกรรมและการยอมรับเทคโนโลยีการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือของผู้ใช้บริการกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ในเขตบางแค กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะวิทยาการจัดการ.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2564). โควิดระลอก 3 ดันยอดการใช้ Mobile Banking และ e-Wallet เติบโต. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/financial/Pages/Mobile-Banking-z3219.aspx
สมาคมธนาคารไทย. (ม.ป.ป.). สมาคมธนาคารไทยวางโรดแมป 3 ปี พัฒนาระบบการเงิน ชู 4 แนวทาง เพิ่มศักยภาพแข่งขันไทย. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.tba.or.th/roadmap-3years/
สราวัลย์ ตั้งปัทมชาติ และ จรัญญา ปานเจริญ. (2563). ความสำเร็จของระบบสารสนเทศที่มีผลต่อพฤติกรรมการชำระเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้ง (Mobile Banking) ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. วารสารสุทธิปริทัศน์, 34(109), 173-185.
สำนักงานสถิติจังหวัดนนทบุรี. (2566). ตัวชี้วัดที่สำคัญจังหวัดนนทบุรี. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จากhttps://nontburi.nso.go.th/component/content/article/gpp.html?catid=14&Itemid=126
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2565. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=Social_HAI
สำนักบริหารการทะเบียน. (2566). สถิติจำนวนประชากรพื้นที่ ทั่วประเทศ ข้อมูลเดือน กุมภาพันธ์ 2566. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/statmonth/#/displayData
สิงหะ ฉวีสุข และ สุนันทา วงศ์จตุรภัทร. (2555). ทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศลาดกระบัง, 1(1), สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2567, จาก file:///D:/Downloads/2-29-1-PB%20(3).pdf
อนาวิล ศักดิ์สูง, อัศนีย์ ณ น่าน และ ฑัตษภร ศรีสุข. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือและพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ ที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการสั่งอาหารผ่านทางแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในจังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(3), 162-174.
อภิชา แพงชาลี และ พอดี สุขพันธ์. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อความภักดีของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชัน K PLUS ธนาคารกสิกรไทย ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤาษ์, 8(3), 216-233.
Alqudah, O. M. A., Jarah, B. A. F., Alshehadeh, A. R., Almatarneh, Z., Soda, M. Z., & Al-Khawaja, H. A. (2023). Data processing related to the impact of performance expectation, effort expectation, and perceived usefulness on the use of electronic banking services for customers of Jordanian banks. International Journal of Data and Network Science, 7(2), 657-666.
Ammenwerth, E. (2019). Technology acceptance models in health informatics: TAM and UTAUT. Applied Interdisciplinary Theory in Health Informatics, 263, 64-71.
Asongu, S. A., & Odhiambo, N. M. (2017). Mobile banking usage, quality of growth, inequality and poverty in developing countries. Information Development, 35(2), 303-318.
BankQuality.com. (2023). Main Retail Banks in Asia Pacific. Retrieved March 18, 2023, from https://bankquality.com/global-rankings/main-retail-banks-in-asia-pacific
Çelik, K., & Özköse, H. (2023). Investigation of factors affecting mobile banking intention to use: Extended technology acceptance model. Journal of Business Research-Turk. 15(2), 1517-1530.
Cronbach. L. (1984). Essentials of Psychological Testing. (4th ed). New York: Harper & Row.
Dangaiso, P., Mukucha, P., Makudza, F., Towo, T., Jonasi, K., & Jaravaza, D. C. (2024). Examining the interplay of internet banking service quality, e-satisfaction, e-word of mouth and e-retention: A post pandemic customer perspective. Cogent Social Sciences, 10(1). DOI: 10.1080/23311886.2023.2296590
Daragmeh, A., Lentner C., & Sagi, J. (2021). FinTech payments in the era of COVID-19: Factors influencing behavioral intentions of “Generation X” in Hungary to use mobile payment. Journal of Behavioral and Experimental Finance. 32, DOI: 10.1016/j.jbef.2021.100574
Koh, C. M., Chong, T. P., Hasan, N. B. A., Foo, C. C., Ng, C. P., & Tan, T. H. (2024). Exploring the technology acceptance of digital banking services in Malaysia with UTAUT model. Journal of Banking and Financial Technology, DOI: 10.1007/s42786-024-00048-9
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), DOI: 10.1177/001316447003000308
Kumar, R., Singh, R., Kumar, K., Khan, S., & Corvello, V. (2023). How does perceived risk and trust affect mobile banking adoption? Empirical evidence from India. Sustainability, 15(5), DOI: 10.3390/su15054053
Kyriazos, T., & Poga, M. (2023). Dealing with multicollinearity in factor analysis: the problem, detections, and solutions. Open Journal of Statistics, 13(3), 404-424.
Lin W. R., Lin C. Y., & Ding Y. H. (2020). Factors affecting the behavioral intention to adopt mobile payment: An empirical study in Taiwan. Mathematics, 8(10), DOI: 10.3390/math8101851
Lisana, L. (2024). Understanding the key drivers in using mobile payment among Generation Z. Journal of Science and Technology Policy Management, 15(1), 122-141.
Masumbuko, C., & Phiri, J. (2024). Technology adoption as a factor for financial performance in the banking sector using UTAUT model. African Journal of Commercial Studies, 4(2), 121-130.
Melwa, K. L. (2023). Effectiveness of mobile banking service delivery in Tanzania: A case study of CRDB bank. International Journal of Advances in Scientific Research and Engineering, 9(3), 1-9.
Nasution, I. H., & Rahmat, R. (2023). Analysis of customer interest using SOE Bank mobile banking with technology acceptance models. Jurnal Multidisiplin Sahombu, 3(1), 16-33.
Olaleye, S. A., Sanusi, I. T., & Oyelere S. S. (2023). Improving performance, security and mobile money users' experience: A study of service design. International Journal of Mobile Communications, 21(3), 295-315.
Purohit, S., Arora, R., & Paul, J. (2022). The bright side of online consumer behavior: Continuance intention for mobile payments. Journal of Consumer Behaviour: An International Research Review, 21(3), 523-542.
Rogers, E. M. (1983). Diffusion of Innovations, (3rded.). New York: Free Press of Glencoe.
Sakib, M. N., Akter, M., Sahabuddin, M., & Fahlevi, M. (2024). An application of the extended UTAUT model to understand the adoption of cashless transactions: Evidence from developing country. Journal of Science and Technology Policy Management, In Press.
Saral, R., Salehzadeh, R., & Mirmehdi. S. M. (2024). Investigating the influence of service quality on loyalty in banking industry: The role of customer engagement. International Journal of Services, Economics and Management, 15(1), 1-18.
Saroy, R., Jain, P., Awasthy, S., & Dhal, S. C. (2023). Impact of digital payment adoption on Indian banking sector efficiency. Journal of Banking and Financial Technology, 7, 1-13.
Shrestha, N. (2020). Detecting multicollinearity in regression analysis. American Journal of Applied Mathematics and Statistics, 8(2), 39-42.
Tabachnick, B. G., & Fidell, L. S. (2007). Experimental Designs Using ANOVA (2nd Ed.). Belmot: Thomson/Brooks/Cole.
The Asian Banker International. (2022). Kasikornbank’s K PLUS records more than 19 million users or 17% growth in 2022. Retrieved March 18, 2023 from https://www.theasianbanker.com/updates-and-articles/kasikornbank%E2%80%99s-k-plus-records-more-than-19-million-users-or-17-growth-in-2022
Tomasi, M., & Ilankadhir, M. (2024). Mobile banking adoption: A closer look at the role of online convenience dimensions. International Journal of Business Science and Applied Management, 19(1), 47-58.
Venkatesh, V., Morris, M. G., Davis, G. B., & Davis, F. D. (2003). User acceptance of information technology: Toward a unified view. MIS Quarterly, 27(3), 425–478.