การลงทุนในผลิตภัณฑ์ทางการเงินของผู้สูงอายุยุคดิจิทัล

Main Article Content

มนต์ทนา คงแก้ว*
นัดพลพิชัย ดุลยวาทิต
ธันยาภรณ์ ดำจุติ

บทคัดย่อ

              รายงานวิจัยเรื่อง การลงทุนในผลิตภัณฑ์ทางการเงินของผู้สูงอายุยุคดิจิทัล มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมทางการเงินและรูปแบบการลงทุนของผู้สูงอายุ และ 2) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการลงทุนและปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนผลิตภัณฑ์ทางการเงินของผู้สูงอายุ โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ซึ่งเป็นผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) สัญชาติไทย อาศัยอยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา เครื่องมือวิจัยที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้สำหรับงานวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เคยประสบปัญหาด้านเงินไม่พอใช้ และมักกู้ยืมเงินเมื่อมีรายได้ไม่เพียงพอ โดยส่วนใหญ่ลงทุนแบบการฝากเงินกับธนาคารพาณิชย์ เพราะเน้นปัจจัยด้านความปลอดภัยของเงินลงทุนเป็นหลัก 2) ปัญหาอุปสรรคต่อการลงทุน ได้แก่ ความพร้อมในการลงทุนของตัวบุคคล วินัยการออมเงินและพฤติกรรมการลงทุน สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุน ได้แก่ อายุและสุขภาพของผู้ลงทุน เป้าหมายหลักและวัตถุประสงค์ในการลงทุน สำหรับผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ระดับการปฏิบัติตัวจากพฤติกรรมทางการเงินและอายุของกลุ่มตัวอย่าง มีอิทธิพลเชิงบวกต่อระดับความสำคัญของปัญหาอุปสรรคในการลงทุนผลิตภัณฑ์ทางการเงิน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (R=0.469) และจัดองค์ประกอบของปัจจัยร่วมที่ส่งผลต่อการเลือกลงทุนในผลิตภัณฑ์ทางการเงินได้ 6 ปัจจัย (ความผันแปรของตัวแปร ร้อยละ 69.176)

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2561). สถานการณ์สังคมสูงวัย. สืบค้นจาก http://www.dop.go.th/th/know/3/127

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2562ก). ข้อมูลสถิติจำนวนผู้สูงอายุประเทศไทย ปี 2561. สืบค้นจาก http://www.dop.go.th/th/know/1/153

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2562ข). มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่องสังคมสูงอายุ 6 Sustainable 4 Change (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2563). สถิติผู้สูงอายุ. สืบค้นจาก http://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/238

กรุงเทพมหานคร: บุญศิริการพิมพ์.

กานต์พิชชา กองคนขาว. (2561). พฤติกรรมทางการเงินของผู้สูงอายุในจังหวัดพะเยา. วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น: บริหารธุรกิจและภาษา, 6(1), 24-30.

จิราภรณ์ แผลงประพันธ์. (2563). ‘ใช้’ หรือ ‘เก็บ’ คนไทยมีนิสัย-ทักษะทางการเงินอย่างไร? สืบค้นจาก https://tdri.or.th/2020/08/thailand-financial-literacy/

เฉลิมพล แจ่มจันทร์, สุภรต์ จรัสสิทธิ์ และณัฐณิชา ลอยฟ้า. (2562). การศึกษาการโอนทางเศรษฐกิจข้ามรุ่นประชากรภายใต้บริบทสูงวัยทางประชากรที่กําลังเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย. สืบค้นจาก https://op.mahidol.ac.th/ra/2019/08/30/pr_2562-01

ชัยทวี เสนะวงศ์. (2562). มีเงินเท่าไหร่จึงจะพอใช้เมื่อเกษียณอายุ. สืบค้นจาก https://www.ftpi.or.th/wp-content/uploads/2019/06/มีเงินเท่าไหร่จึงจะพอใช้เมื่อเกษียณอายุ.pdf

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2560). คู่มือเงินทองต้องวางแผน ตอนเกษียณสบายสไตล์วัยเก๋า. กรุงเทพมหานคร: เมจิกเพรส.

ธนาคารทหารไทย. (2561). ห้องข่าว : ทีเอ็มบีเปิดมุมมองพฤติกรรมทางการเงินของคนไทย. สืบค้นจาก https://www.tmbbank.com/newsroom/news/analytics/view/Analytic-Financial-behavior.html

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561ก). รายงานผลการสำรวจการเข้าถึงบริการทางการเงินภาคครัวเรือน ปี 2561. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/Highlights/FSMP2/FinancialAccessSurveyOfThaiHouseholds_2018.pdf

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561ข). สังคมสูงวัยกับความท้าทายของตลาดแรงงานไทย. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/AgePeriodCohort.pdf

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). Digital Literacy EP.1: รัฐควรทำอย่างไร? ให้ผู้สูงอายุก้าวทันเทคโนโลยี. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/ConsumerInfo/Documents/Aging-Society.pdf

ธนาวัฒน์ สิริวัฒน์ธนกุล. (2561). คู่มือ Happy Money Guide ตอน วางแผนการออมสม่ำเสมอ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

เบญญา รัศมีโกเมน และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2559). กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตและธุรกิจประกันชีวิตสำหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 9(1), 1129-1142.

พนม คลี่ฉายา. (2563). การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุและข้อเสนอเพื่อการเสริมสร้างภาวะพฤฒิพลัง

ของผู้สูงอายุไทย. สืบค้นจาก https://thainhf.org/wp-content/uploads/2020/11/finalreport_Dr.Phnom_.pdf

เพชรี ขุมทรัพย์. (2544). หลักการลงทุน (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2562). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2561. กรุงเทพมหานคร: พริ้นเทอรี่.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2556). การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รุจา รอดเข็ม และสุดารัตน์ ไชยประสิทธิ์. (2562). สังคมสูงวัย: เทคโนโลยีกับผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 13(2), 36-45.

วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ และธนภรณ์ เนื่องพล. (2561). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการออมของผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 11(1), 3061-3074.

ศิริชัย พงษ์วิชัย. (2551). การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยคอมพิวเตอร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิวลาภ สุขไพบูลย์วัฒน์. (2560). บทบาทของผู้สูงอายุต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศไทย. วารสารศรีนครินทร์วิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9(17), 176-191.

ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน. (2562). การลงทุน. สืบค้นจาก https://www.1213.or.th/th/others/investments/Pages/investments.aspx

ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน. (2561). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเงินและการลงทุน.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2561). วารสารข้าราชการ : ภาครัฐกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัย. สืบค้นจาก https://www.ocsc.go.th/sites/ default/files/document/ocsc-2561-y60b04.pdf

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2562). วาระแห่งชาติการปรับตัวเชิงโครงสร้างของไทยเพื่อก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ

(Aging Society). วารสารบางกอก Economy, 14(1), 17-18.

สุภมาส อังศุโชติ และกาญจนี กังวานพรศิริ. (2558). แนวทางและมาตรการส่งเสริมการออมของผู้สูงอายุตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาจังหวัดนนทบุรี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(14), 146-158.

สุมนา บุปผา, ศรีอร สมบูรณ์ทรัพย์ และพัฒน์ พัฒนรังสรรค์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนทางการเงินของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 7(3), 115-124.

อนพัทย์ หนองคู และพรวรรณ นันทแพศย์. (2559). การวิเคราะห์รูปแบบการออมสำหรับวัยสูงอายุในประเทศไทยและต่างประเทศ. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร, 5(1), 145-153.

อลิศรา ฮัววานิช. (2557). Happy Retirement Guide คู่มือสร้างสุขวัยเกษียณ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Making (4th ed.). New York: John Wiley and Sons.

Bland, J. M., & Altman, D. G. (1996). Transformations, Means and Confidence Intervals. BMJ, 312, DOI: https://doi.org/10.1136/bmj.312.7038.1079

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Hinkle, D. E, William, W., & Stephen G. J. (1998). Applied Statistics for the Behavior Sciences (4th ed.). New York: Houghton Mifflin.

Yamane, T. (1973). Statistics and Introductory Analysis (4th ed.). New York: Harper and row.