ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะความเป็นมืออาชีพของนักวิชาชีพบัญชีไทยในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC): ในบริบทของผู้สอบบัญชีภาษีอากร

Main Article Content

สุภาวดี ชอบเสร็จ

บทคัดย่อ

               งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะความเป็นมืออาชีพของนักวิชาชีพบัญชีไทยในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC): ในบริบทของผู้สอบบัญชีภาษีอากร ในงานวิจัยนี้เก็บรวบรวมจากผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทยจากเว็บไซต์ของกรมสรรพากร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งแบบสอบถามได้รับการตอบกลับเพื่อใช้ในการวิเคราะห์จำนวน 179 ราย และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณในการทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ด้านประสบการณ์ในการทำงานและการพัฒนาทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อทักษะความเป็นมืออาชีพอย่างมีนัยสำคัญ ผลที่ได้สามารถนำไปประยุกต์ใช้พัฒนานักวิชาชีพบัญชีอาเซียนให้มีทักษะความเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ชอบเสร็จ ส. . . (2020). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะความเป็นมืออาชีพของนักวิชาชีพบัญชีไทยในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC): ในบริบทของผู้สอบบัญชีภาษีอากร . วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9(2), 90–103. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jms_ubu/article/view/223605
บท
บทความวิจัย (Research Article)
Author Biography

สุภาวดี ชอบเสร็จ , คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

The Lecturer in Accounting Department, Rajamangala University of Technology Isan, Surin Campus : Surin , Nokmueng, Mueng , Surin

References

จินตนา ชัยยวรรณาการ. (2555). ก้าวที่สำคัญของนักบัญชีเข้าสู่ AEC. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ.

เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์. (2556). คุณสมบัติของนักบัญชีที่พึงประสงค์สำหรับอุตสาหกรรมญี่ปุ่นในประเทศไทย(รายงานวิจัย). สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.

ณัฎฐธิดา จินมอญ. (2559). ความเป็นมืออาชีพกับคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, สาขาวิชาการบัญชี.

ณัฐชา วัฒนวิไล และจุฑามน สิทธิผลวนิชกุล. (2555). การพัฒนาศักยภาพวิชาชีพบัญชีไทยเมื่อเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ. วารสารนักบริหาร, 32(3), 16-25.

นันทวรรณ วงค์ไชย. (2552). ผลกระทบของความเป็นมืออาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพที่มีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ภาควิชาการบัญชี.

สงกรานต์ ไกยวงษ์. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะความเป็นมืออาชีพของผู้สอบบัญชีภาษีอากรและผู้สอบ

บัญชีรับอนุญาต. วารสารสุทธิปริทัศน์, 23(72), 34-52.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559 ก). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ฉบับที่ 1 เรื่อง ข้อกำหนดเพื่อเข้าสู่โปรแกรมการศึกษาทางวิชาชีพบัญชี. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2559,

จาก http://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010350/1.pdf

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559 ข). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ฉบับที่ 2 เรื่อง เนื้อหาของโปรแกรมการศึกษาทางวิชาชีพบัญชี. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2559,

จาก http://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010350/2.pdf

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559 ค). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ฉบับที่ 3 เรื่อง ทักษะทางวิชาชีพ. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2559,

จาก http://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010350/3.pdf

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559 ง). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ฉบับที่ 5 เรื่อง ข้อกำหนดด้านประสบการณ์ทำงานจริง. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2559,

จาก http://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010350/5.pdf

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559 จ). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ฉบับที่ 7 เรื่อง การพัฒนาทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับโปรแกรมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต.

สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2559,

จาก http://fap.or.th.a33.readyplanet.net/images/column_1359010350/7.pdf

Arel, B. (2010). The influence of litigation risk and internal audit source on reliance decisions. Advances in Accounting, 26(2), 170-176.

Bedard, J. C., Graham, L., & Jackson, C. (2005). Information systems risk and audit planning. International Journal of Auditing, 9(2), 147-163.

Carnaghan, C. (2006). Business process modeling approaches in the context of process level audit risk assessment: An analysis and comparison. International Journal of Accounting Information Systems, 7(2), 170-204.

Garcia-Benau, M. A. & Zorio, A. (2004). Audit reports on financial statements prepared according to IASB standards: Empirical evidence from the European Union. International Journal of Auditing, 8(3), 237-252.

Hair, J. F. Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E. & Tatham, R.L. (2010). Multivariate Data Analysis. 6thed. New Jersey: Pearson Education International.

Haurani, M. J., Rubinfeld, I., Rao, S., Beaubien, J., Musial, J. L., Parker, A., . . . Shepard, A. (2007). Are the communication and professionalism competencies the new critical values in a resident’s global evaluation process?. Journal of Surgical Education, 64(6), 351-356.

Havelka, D., & Merhout, J. W. (2013). Internal information technology audit process quality: Theory development using structured group processes. International Journal of Accounting Information Systems, 14(3), 165-192.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.

Kutner, M., Nachtsheim, C. J., & Neter, J. (2004). Applied Linear Statistical Models. 4th ed. New York: McGraw-Hill.

Nelson, M., & Tan, H. (2005). Judgment and decision making research in auditing: a task, person, and interpersonal interaction perspective. Auditing: A Journal of Practice and Theory, 24(s-1), 41-71.

Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. New York, NY: McGraw-Hill.

Real, J. C., Leal, A., & Roldán, J. L. (2006). Information technology as a determinant of organizational learning and technological distinctive competencies. Industrial Marketing Management, 35(4), 505-521.

Schultz, J. J., Bierstaker, J. L., & O’Donnell, E. (2010). Integrating business risk into auditor judgment about the risk of material misstatement : The influence of a strategic-systems-audit approach. Accounting, Organizations and Society, 35(2), 238-251.

Vinze, A. S., & Karan, V. (1991). A generalizable knowledge-based framework for audit planning expert systems. Journal of Information Systems, 5(2), 78-91.

Wong, P. S. P., & Cheung, S. O. (2008). An analysis of relationship between learning behavior and performance improvement of contracting organizations. International Journal of Project Management, 26(2), 112-123.