อิทธิพลของความสามารถในการบริหารจัดการบัญชีต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในจังหวัดนครพนม

Main Article Content

บัวจันทร์ อินธิโส
นิตยา โพธิ์ศรีจันทร์
ฉัตรชัย แสงจันทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความสามารถในการบริหารจัดการบัญชีกับ ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ 2) วิเคราะห์อิทธิพลความสามารถในการบริหารจัดการบัญชีที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในจังหวัดนครพนม จำนวน 173 ราย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการบริหารจัดการบัญชีมีค่าความสัมพันธ์กับความสำเร็จการดำเนินธุรกิจ  2) ความสามารถในการบริหารจัดการบัญชี ด้านการบันทึกบัญชี  ด้านการปิดบัญชี ด้านการสื่อสารและรายงานการเงิน  ด้านการใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางการบัญชี มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความสำเร็จการดำเนินธุรกิจ 3) ความสำเร็จการดำเนินธุรกิจ ได้รับอิทธิพลรวมสูงสุดจากด้านการใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางการบัญชี โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ขนาดอิทธิพลเท่ากับ .353  

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กิตติศักดิ์ มะลัย. (2557). ผลกระทบของการควบคุมภายในเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการจัดทำบัญชีของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษาเอกชนในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คณะการบัญชีและการจัดการ. สาขาวิชาการบัญชี.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). ข้อมูลผู้ทำบัญชี. สืบค้นจาก http://www.dbd.go.th/nakhonphanom/ main.php?filename=index

กัลย์ธีรา สุทธิญาณวิมล. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพงบการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในมุมมองของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตภาคเหนือ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาการบัญชี

กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2553). การวัดผลการดำเนินงานขององค์กรเชิงกลยุทธ์โดยใช้ Balanced Scorecard ในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทร์วิโรฒ. 2(1), 3-10.

จรินทร์ อาสาทรงธรรม. (2546). Balance Scorecard ช่วยกิจการได้จริงหรือ. BU Academic Review. 21(1), 138-142.

จำนง จันทโชโต และ นิตยา วงศ์ภินันท์วัฒนา. (2558). คุณภาพของรายงานการเงินบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 11(32), 19-23.

ชัชชญา ภูวปริยาธร. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดทำบัญชีและงบการเงินของกองทุน หมู่บ้านและ ชุมชนเมืองในมุมมองของผู้ผ่านการอบรมผู้ตรวจสอบบัญชีกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง. (การศึกษาอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.

ณัฐวุฒิ ตันติเศรษฐ. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของงบการเงินและประสิทธิผลในการตัดสินใจของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 6(2), 21-24.

ธิดาพร อินชุม. (2554). ปัญหาด้านการจัดทำบัญชีและการควบคุมภายในของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ในอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาการบัญชี.

ธีรศักดิ์ แช่มช้อย, ขวัญ ธรรมไชยางกูร, เจษฎาภรณ์ พรหมจักรแก้ว, จุฬารัตน์ ปิงพะยอม, ศรารัตน์ ตรีเจริญ และ อัมวิกา วันมาละ. (2557). การศึกษาระบบบัญชีกองทุนหมู่บ้าน: กรณีศึกษาหมูบ้านเจดีย์ขาว หมู่ที่ 5 ตำบลริมปิง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ.

นันท์นภัส ธีระอกนิษฐ์ และ อรวรรณ นิ่มตลุง. (2556). การศึกษาปัญหาและแนวทางการปฏิบัติงานตามระบบ บัญชี กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 5(9), 29-36.

ปัญจพร ศรีชนาพันธ์, วรพรรณ เขียวรุจี และ ปวีณา ศิริภัณฑ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาในการจัดทำบัญชี กองทุนหมู่บ้าน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน 8(2), 88 - 97.

ลลิตา แว่นแก้ว, ญาณินท์ ตั้งภิญโญพุฒิคุณ และ ไตรรงค์ สวัสดิกุล. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติ ทางการบัญชีที่ดีกับคุณภาพการทำงานของผู้ทำบัญชีในจังหวัดขอนแก่น. วารสารคณะมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 34(2), 155-163.

วิจิตรา กินาวงศ์.(2553). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพข้อมูลทางการบัญชีและประสิทธิภาพการตัดสินใจของธุรกิจที่ได้รับมาตรฐาน ISO 9000 ในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.

วันวิสาห์ เดชภูมี. (2559). ทักษะทางวิชาชีพบัญชีของผู้ทำบัญชีที่ธุรกิจต้องการในเขตจังหวัดขอนแก่น. (การศึกษาอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วรรษมน ทองรักษ์. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความน่าเชื่อถือของงบการเงินของธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs)ในมุมมองนักวิเคราะห์สินเชื่อ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี. สาขาวิชาการบัญชี.

โศรยา บุตรอินทร์, วราพร เปรมพาณิชย์นุกูล, และ ขจิต ก้อนทอง. (2557). ผลกระทบของการเรียนรู้มาตรฐาน การบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานทางการบัญชีของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 4(33), 118- 129.

สุธิรา เรือนศรี. (2553). การศึกษาทัศนคติในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อผู้ทำบัญชีและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลทางบัญชีของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคตะวันออก.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว. สาขาวิชาการบัญชี.

สรัชนุช บุญวุฒิ. (2558). ปัญหาและรูปแบบการพัฒนาประสิทธิผลของระบบบัญชี สำหรับวิสาหกิจชุมชน : กลุ่มผู้ผลิตข้าวแต๋น บ้านหนองหล่าย อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. การประชุมสัมมนาวิชาการนาเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15(161 -172). ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

Aaker, D. A., Kumar V., & Day, G. S. (2001). Marketing Research. New York: John Wiley and Sons.

Beisland, L. A. (2009). A Review of the Value Relevance Literature, The Open Business Journal, 2, 7-27.

Bertin, M. J., & Moya, J. T. A. (2013). The Effect of Mandatory IFRS Adoption on Accounting Conservatism of Reported Earnings: Evidence from Chilean Firms. Academia Revista Latinoamericana de Administración, 26(1), 139 – 169.

Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision Making. USA: John Wiley and Son.

Devalle, A., Magarini R., & Onali E. (2010). Assessing the Value Relevance of Accounting Data after the Introduction of IFRS in Europe. Journal of International Financial Management & Accounting, 21, 85-119.

Kaplan, R. S. & Norton, D. P. (1996) The Balanced Scorecard: Translating Strategy into Action, Boston: HBS Press.

Keller, K. L., & Staelin, R. (1987). Effects of Quality and Quantity of Information on Decision Effectiveness. Journal of Consumer Research, 14(2), 200-213.

Likert, R. (1932). A Technique for the Measurement of Attitude. Arch. Psychol.

Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. New York.

Rubin, A. M., & Step, M. M. (2000). Impact of Motivation, Attraction, and Parasocial Interaction on Talk Radio Listening. Journal of Broadcasting & Electronic Media, 44, 635-654.