LEARNING THE POY SANG LONG TRADITION THROUGH MIXED MEDIA IN AUGMENTED REALITY (AR)

ผู้แต่ง

  • Nattawat Somdee Silpakorn University

คำสำคัญ:

Poy Sang Long, Augmented Reality, Mixed Media

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method) ใช้แนวคิด Augmented reality และ Types of media in augmented reality เป็นกรอบการวิจัย พื้นที่วิจัย คือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน กลุ่มตัวอย่าง คือ เยาวชน นักศึกษา คนในท้องถิ่น ผู้นำชุมชน จำนวน 100 คน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Propulsive Sampling)  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดผลความพึงพอใจในการใช้สื่อ Learning the Poy Sang Long tradition through mixed media in Augmented Reality วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัยพบว่า  1) เพื่อพัฒนาสื่อ Augmented Reality นำเสนอประเพณีปอยส่างลอง ชาติพันธุ์ไทใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ผลการวิจัยพบว่า การสร้าง Application ได้นำเอาสื่อ Mixed Media มาใช้ประกอบการให้ข้อมูล ประกอบด้วย 3D Animation, 2D Motion, Video, และ หุ่นจำลอง โดยผู้ใช้งานสามารถดาวน์โหลด Application เพื่อติดตั้งลงบน Smartphone ด้วยระบบปฏิบัติการ Android 2) เพื่อวัดผลการใช้งานสื่อ Augmented Reality นำเสนอประเพณีปอยส่างลอง ชาติพันธุ์ไทใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่า การความพึงพอใจในการใช้สื่อ AR รูปแบบ mixed media เพื่อนำเสนอประเพณีปอยส่างลอง อยู่ในระดับมาก  องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ทำให้ทราบว่า การใช้ Mixed Media เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้แบบAugmented Reality ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้ใช้ ทำให้สนุกสนานและเพลิดเพลิน สื่อชนิดต่าง ๆ ช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ได้ดีกว่าการใช้สื่อชนิดเดียว อีกทั้ง ผลจากการวิจัยสามารถทำให้นักพัฒนา AR Application นำรูปแบบ Poy Sang Long through mixed media in AR  ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในพื้นที่อื่น ๆ ได้

 

References

Adi Ferliyanto Waruwu. (2015). Augmented Reality Mobile Application of Balinese Hindu Temples: DewataAR. I. J. Computer Network and Information Security, 2, 59-66.

Heimgartner, J. (2016). What Is Augmented Reality and How Can Engineers and Designers Use It?. Retrieved April 18, 2020, from https://www.engineering.com/story/what-is-augmented-reality-and-how-canengineers-and-designers-use-it

inc.com (2020). Importance of AR Adoption in Education. Retrieved 10 November

,https://inc42.com/resources/importance-of-ar-adoption-in-education/

Malithong, K. (2005). Explanation of Terminology, Computer, Internet, Multimedia.Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

Phunsa, S. (2014). Applying Augmented Reality Technology to Promote Traditional Thai Folk Musical Instruments on Postcards. In Proceedings of the International Conference on Computer Graphics, Multimedia and Image Processing (CGMIP2014), (pp. 64-68).

Kuala Lumpur: Malaysia.

Ptc.com. (2021). Augmented Reality. Retrieved 10 November 2020, from

https://www.ptc.com/en/technologies/augmented-reality

Rungtawan, U. (2012). Ethnography Research Database: Look at the People of Poy Sang Long. Retrieved May 10, 2020, from

http://www.sac.or.th/databases/ethnicredb/articles_detail.php?id=.1177

Sanguan, C. (1969). Northern Thai Traditions. Bangkok: Odeon Store.

Sriratanaban, T. (2015). Poy Sang Long: Social Symbols and Meaning of Tai Yai in Mae Hong Son Province. Journal of Thai Studies, 11 (2), 87-112.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-09-2022

How to Cite

Somdee , N. (2022). LEARNING THE POY SANG LONG TRADITION THROUGH MIXED MEDIA IN AUGMENTED REALITY (AR). วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 7(3), 15–31. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/259303

ฉบับ

บท

บทความวิจัย