พรหมวิหารธรรม : หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในการบริการแพทย์แผนไทยในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • สุทัศน์ ประทุมแก้ว วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ
  • พระมหาขุนทอง แก้วสมุทร์, พระครูโกศลวิหารคุณ, ,พระยี่แก้ว สมงาม และ ทิพย์ภวิษณ์ ใสชาติ

คำสำคัญ:

หลักพุทธธรรม, การบริการแพทย์แผนไทย, สังคมไทย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษา พรหมวิหารธรรม : หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในการบริการแพทย์แผนไทยในสังคมไทย พบว่า พุทธธรรมเป็นหลักการที่เรียกกันว่า “สัจธรรม” อันเป็นหลักคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้โดยพระองค์เอง แล้วนำมาสั่งสอนแก่มวลมนุษยชาติให้รู้และเข้าใจถึงความเป็นจริงของธรรมชาติ มุ่งผลสำเร็จที่การดับทุกข์ และยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมให้เกิดความผาสุก ดังนั้น หลักพุทธธรรมจึงเป็นแนวทางที่ดีและเหมาะสมเพื่อใช้ในการกำหนดจรรยาวิชาชีพ เพราะเป็นเครื่องแสดงถึงความประพฤติที่ดีของผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยที่จะส่งผลกระทบต่อความเชื่อถือและคุณภาพในศาสตร์หรือสาขาวิชาชีพในการให้บริการแพทย์แผนไทยได้อย่างถูกต้อง หลักพรหมวิหาร 4 ในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา จึงเป็นหลักธรรมที่นำมาบูรณาการในการบริการแพทย์แผนไทย คือ (1) เมตตา ผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยมีความรักต่อผู้ป่วย (2) กรุณา ผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยมีความช่วยเหลือให้ผู้ป่วยพ้นจากทุกข์ (๓) มุทิตา ผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยมีความยินดี  เมื่อผู้ป่วยหายป่วย และ (4) อุเบกขา ผู้ให้บริการแพทย์แผนไทยมีความวางใจเป็นกลางเมื่อรักษาผู้ป่วยไม่ได้ ซึ่งในการทำหน้าที่ของแพทย์จะต้องมีความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้ป่วยและเพื่อนมนุษย์ เพื่อให้เขาได้รับความสุขและมีกำลังใจต่อสู้กับโรคที่เขากำลังประสบอยู่ การนำหลักพรหมวิหาร 4 และความรู้ด้านการให้บริการแพทย์แผนไทยมาบูรณาการปรับใช้ในโรงพยาบาลจะทำให้มีประสิทธิภาพในการรักษาผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น

References

Phanomyantra, k. (2010). An analytical study of Thai traditional medicine philosophy. (Master’s Thesis). Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Ayutthaya.

Chuengsatiansup, k. (1992). Traditional medical system in rural Thailand. Bangkok: Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health.

Khotsrikul, N. (2011). Satisfaction in receiving services in Thai traditional medicine group : a case study of promoting hospitals. Nong Wa Subdistrict Health Kumphawapi District Udon Thani Province. (Master’s Thesis). Sakon Nakhon Rajabhat University. Sakon Nakhon.

Wasi, P. (1985). Public health and Buddhism. (4th ed.), Bangkok: Komol Keemthong Foundation.

Chaibangyang, P. et al. (2005). Dharma exposition of Dharma principles in the Tripitaka. Bangkok: M.P.A.

Pannawach Choophantnis. (2012). An analytical study of the Buddhist ethics in Thai traditional medicine. (Master’s Thesis). Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Ayutthaya.

Phrakhrupariyatrattananuyut & Satiman, U. (2017). Buddha Dhamma on Reducing Inequality in Thai Society. Journal of MCU Peace Studies, 2(1), 47-58.

Phrakhrupaladkaweewat. (2018). An Applying Buddhist Principles to Improve the Quality of Life of the People in Sri Thamasok 1 Community, Tambon Nai Mueang, Mueang District, Nakhon Si Thammarat Province. Journal of MCU Peace Studies, 3(3), 319-334.

Phrakhrusuchatkanchanawong (Chanon Cagarato). (2016). An Application of Khanti Dhamma to Strengthening the Social Peace. Journal of MCU Peace Studies, 1(1), 13-22.

Phra Thammakosajarn (Panyananthaphikku), et al. (1997). Buddhadharma in good health. Bangkok: The War Veterans Organization's printing house.

Sapcharoen, P. (2007). History, evolution and application of Thai traditional medicine. Bangkok: Sam Charoen Panich.

Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tripitakas. Bangkok: MCU Press.

Boonkongchon, W. (2013). Efficiency of community service according to the 4th power principle of Bang Sue District Office, Bangkok Metropolis. (Master’s Thesis). Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Ayutthaya.

Ketsing, A. (1977). Thai Medicine and Western Medicine. Bangkok: Medical Social Sciences.

Chiangthong, A. et al. (2017). Quality and access to services of Thai traditional medicine hospitals. Journal Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center, 34(3), 208.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

17-06-2022

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ