ศึกษาชุมชนท่องเที่ยวโดยฐานทางวัฒนธรรม : ขุมชนเกาะเกิด อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

STUDY OF THE TOURISM COMMUNITY BASED ON CULTURE : KOAKKEAK COMMUNITY BANKBA-IN DISTRICT AYUTTHAYA PROVINCE.

ผู้แต่ง

  • ชมพู โกติรัมย์ วิทยาลัยดุสิตธานี
  • สุปัญญา จันทร์เพ็ญศรี

คำสำคัญ:

ชุมชน, วัฒนธรรม, การท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เปนการศึกษาชุมชนท่องเที่ยวโดยฐานทางวัฒนธรรม ชุมชนเกาะเกิด อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนที่เป็นสถานท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และศักยภาพการจัดการที่ไม่ทำลายวัฒนธรรม และเพื่อเสนอรูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนโดยฐานวัฒนธรรม ชุมชนเกาะเกิด อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  ซึ่งใช้วิธีการวิจัยแบบคุณภาพและปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 

          ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนเกาะเกิด (หมู่ 4,5,6) เป็นชุมชนมีศักยภาพโดยพัฒนาเป็นพื้นที่พิเศษ มีการจัดตั้งกลุ่มต่าง ๆ ขึ้นเข้ามารองรับ สืบสานวัฒนธรรมในกิจกรรมท่องเที่ยวเพื่อให้ภูมิปัญญา ศิลปะ วิถีวัฒนธรรมมีความยั่งยืน ด้านผู้นำมีศักยภาพสูง นำพาชุมชนและจัดเวทีชาวบ้านโดยตกผลึกความคิดว่า เพราะวิถีวัฒนธรรม อาหาร ศิลปะต่าง ๆ ของชุมชน เป็นมรดกที่คนต่างถิ่นมาเยี่ยมชม วิถีวัฒนธรรมเป็นดังลมหายใจการท่องเที่ยว มีความจำเป็นที่ต้องสืบสานมีชีวิตนั่นคือ วิถีวัฒนธรรมชุมชนที่สามารถสัมผัสได้ ทั้งนี้เพราะชุมชนเกาะเกิดได้ร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านขนมไทย ศิลปะการแสดง วิถีวัฒนธรรม งานประเพณีที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ และผู้นำชุมชนได้ร่วมกลุ่มกันจัดการสิ่งที่มีอยู่แล้วมาอนุรักษ์ สืบสานให้เกิดการท่องเที่ยวภายในชุมชนโดยใช้วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นฐานการเรียนรู้

References

Boonlert Chittangwattana. (2015). Tourism industry, the never-ending business of Thailand to add value to tourism. Master's Thesis, Chiang Mai University.

Community Based Tourism Institute. (2018). Community tourism. [Online]. Accessed 10 March 2018. From https://cbtthailand.dasta.or.th/

Fennell, David A. 1999. Ecotourism an Introduction. London: Rout ledge.

Jitti Mongkolchai Aranya. (2017). Guidelines for sustainable tourism development planning. Bangkok: Asia Center for Tourism Planning and Solutions. Thammasat University.

Kemmis, S & McTaggart, R. (1988). The Action Research Planer (3rded.). Victoria: Deakin. University: Johnson, A.P.

Nutthapat Maneerot. (2017). Community-based tourism management. Journal of International and Thai Tourism. 13(2), 25-48.

Office of the Permanent Secretary, Ministry of Tourism and Sports. (2018). Action plan to drive sustainable community-based tourism development by sustainable and creative communities 2018- 2022 and selection criteria for 303 communities. [Online]. Accessed 10 April 2018. From

https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/secretary/news_view.php?nid=1481.

Potchana Suansri and Somphop Yijohor. (2013). Community Based Tourism Standards Guide. Chiang Mai: Payap University, Institute of Community Tourism.

Santichai Euejongprasert. (2017). Strategic Tourism Management. Bangkok Sam Charoen Printing.

Weerapol Thongma and team. (2015). Tourism Development Master Plan Project in Mae Ngon River Basin, Fang District, Chiang Mai Province. Chiang Mai: Faculty of Tourism Development Maejo University in collaboration with Office of the Permanent Secretary, Ministry of Tourism and Sports.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-03-2022

ฉบับ

บท

บทความวิจัย