การจัดการสังคมในยุค New Normal

ผู้แต่ง

  • อำนาจ ทาปิน
  • พระครูโกวิทบุญเขต
  • พิมพ์พร แสนคำหล้า

คำสำคัญ:

การจัดการสังคม

บทคัดย่อ

สังคม (Social) ในปัจจุบันที่เปรียบเสมือนองค์กรในรูปแบบลักษณะสังคมระบบเปิด (Open society) เพราะองค์กรสังคมต้องถูกกำกับโดยสภาพแวดล้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมภายนอก (External environment) จากกระบวนการพัฒนารูปแบบของระบบและกลไกการพัฒนา บนพื้นฐานของสภาพแวดล้อมทางการแข่งขัน (Competitive environment) ของกลุ่มอำนาจนิยมและทุนนิยม ที่มีการพัฒนารูปแบบและนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสำคัญ เพื่อสร้างความยิ่งใหญ่และการเป็นผู้นำสมัยใหม่ (Modernity) ในการพัฒนา ด้วยเหตุนี้จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่อทุกๆ สังคม ทั้งทางบวกและทางลบ ส่งผลให้สังคมต้องสร้างและพัฒนารูปแบบสังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning society) บนพื้นฐานของสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต (A lifelong learning society) ในการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงต่อสภาพการณ์และสภาพแวดล้อมที่กดดัน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งส่งผลโดยตรงต่อวิถีชีวิตของประชากรในสังคม พัฒนาสู่ความเป็นสังคมแห่งคุณค่า (Value Society) บนฐานการมีส่วนร่วมของสังคมยุค New Normal ปัจจุบัน

References

ราชบัณฑิตยสภา. (15 พฤษภาคม 2563). เบื้องหลังการบัญญัติศัพท์คำว่า New normal. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2564, จาก https://royalsociety.go.th
Bill Gross. (8 มิถุนายน 2563). New Normal คืออะไร? วิถีชีวิตใหม่ในสังคมเปลี่ยนแปลงไปแค่ไหน !!. สืบค้นเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2564, จาก https://www.egat.co.th
รงค์ บุญสวยขวัญ. (มปป). การจัดการทางสังคม : สังเคราะห์แนวคิดเพื่อการอธิบายการจัดการกลุ่มองค์กรประชาชนในสังคมชนบทไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
พัชรินทร์ สิรสุนทร. (2552). ชุมชนปฏิบัติการด้านการเรียนรู้ แนวคิด เทคนิค และกระบวนการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Prter F. Drucker. โดย กนลา สุขพานิช ขันทปราบ. (2546). การบริหารการจัดการสังคมแห่งอนาคต. กรุงเทพฯ : บริษัท เอ.อาร์.บิซิเนส เพรช จำกัด.
พรชัย ศรีประไพ. พร้อมบุญ พานิชภักดิ์. (2555). ว่าด้วยเรื่อง CSR. กรุงเทพฯ : มูลนิธิรักษ์ไทย.
ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์. (2553). ทฤษฏีไร้ระเบียบกับทางแพร่งของสังคมไทย. กรุงเทพฯ :

Downloads

เผยแพร่แล้ว

19-04-2021

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ