โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความภักดีในการซื้อแว่นตาผ่านเพจเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ภัทราภรณ์ ม่วงกลม มหาวิทยาลัยรังสิต
  • สุมามาลย์ ปานคำ มหาวิทยาลัยรังสิต

คำสำคัญ:

-

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความภักดีในการซื้อแว่นตาผ่านเพจเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในประเทศไทย และเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่เคยซื้อแว่นตาผ่านเพจ GIFTGREATS: แว่นตา จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ โมเดลสมการโครงสร้างใช้ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเพื่อหาเส้นทางอิทธิพลเชิงสาเหตุของตัวแปรประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่
1) ด้านการรับรู้ถึงความปลอดภัย 2) ด้านความมีนวัตกรรมของเพจเฟซบุ๊ก 3) ด้านภาพลักษณ์ของเพจเฟซบุ๊ก 4) ด้านความไว้วางใจ และ 5) ด้านความภักดีในการซื้อแว่นตา

ผลการวิจัย พบว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี ค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์เท่ากับ 0.96 แสดงว่าตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความภักดีในการซื้อแว่นตาผ่านเพจเฟซบุ๊กได้ร้อยละ 96 พบว่า ด้านความไว้วางใจมีอิทธิพลมากที่สุดต่อความภักดีในการซื้อแว่นตาผ่านเพจเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในประเทศไทย

References

กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Rangsungnoen, G. (2011). Factor Analysis using SPSS and AMOS Program for Research. Bangkok: SE-ED Book Center.

ธนกฤต ตปนีย์ และสุรสิทธิ์ บุญชูนนท์. (2561). อิทธิพลของคุณภาพการบริการที่มีผลต่อความไว้วางใจ ความพึงพอใจ การบอกต่อและการกลับมาใช้บริการซ้ำของผู้ใช้บริการแท็กซี่สาธารณะ ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ, 5(2), 101-120.

Tapanee, T. & Boonchunont, S. (2018). The Influence of Service Quality on Trust, Satisfaction, Word of Mouth, and Repurchase of Taxi Service at Don Mueang Airport. Journal of Marketing and Management, 5(2), 101-120.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2560). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: บิสซิเนส อาร์แอนด์ดี.

Silpcharu, T. (2017). SPSS and AMOS: Research and Data Analysis. (17th ed.). Bangkok: Business R&D.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Wiratchai, N. (1999). LISREL Model: Statistical Analysis for Research. (3rd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

ณัฐพร ดิสนีเวทย์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าที่มีต่อตราสินค้าร้านคาเฟ่ขนมหวานในห้างสรรพสินค้า. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

Disnevath, N. (2016). Factors Affecting Customer’s Brand Loyalty of Dessert Cafés in Department Stores. Master of Arts, Bangkok University.

ประทินร์ ขันทอง และ ธนากร ธนาธารชูโชติ.(2562). รูปแบบการตลาดธุรกิจสินค้าออนไลน์ใน ประเทศไทย.วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 4(2),45-56.

Khanthongand, P. & Thanathanchuchot, T. (2019). Marketing Model off Online Business in Thailand. Journal of MCU Buddhapanya Review, 4(2),45-56.

ภัทริกา วงศ์อนันต์นนท์. (2557). พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กและเยาวชน. วารสารพยาบาลทหารบก. 15(2), 173-178.

Wonganantnont, P. (2014). Excessive Internet Usage Behavioral in Adolescents. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 15(2), 173-178.

สาวิตรี สุรธรรมวิทย์. (2558). โครงการจัดตั้งธุรกิจร้านแว่นตากันแดดแฟชั่นวิตรี. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

Surathammawit, S. (2015). The Business Project of fashion sunglasses shop “Vitree”. Master of Business Administration Program, Bangkok University.

สุพรรษา ธนาอุยกุล และสุมาลี สว่าง. (2561). การพัฒนารูปแบบการสร้างความภักดีของผู้บริโภคในตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ฉบับเสริม ครบรอบ 12 ปี มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 124-135.

Tanauykul, S. & Swang, S. (2018). Development of Consumer Loyalty Patterns in the E-Marketplace in Thailand. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, 12th anniversary supplementary edition, 124-135.

สุรสิทธิ์ อุดมธนวงศ์. (2561). อิทธิพลของการรับรู้คุณค่าตราสินค้ากลุ่มยานยนต์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อคุณค่าของการแบ่งปันทางอิเล็กทรอนิกส์และความผูกพันตราสินค้าของผู้บริโภค. สุทธิปริทัศน์, 30(102), 249-263.

Udomthanavong, S. (2018). The Influences of Perceived Brand Equity of Motor Vehicles via Social Media on Electronic Sharing Value and Brand Engagement of Customers. SUTHIPARITHAT, 30(102), 249-263.

Bilgihan, A. (2016). Gen Y customer loyalty in online shopping: An integrated model of trust, user experience and branding. Computers in Human Behavior, 61, 103 - 113.

Clara Shih. (2009). The Facebook Era: Tapping online social networks to build better product, reach new audiences, and sell more stuff. Boston: Pearson Education.

Feng, C., Derong, L. & Hailin, Q. (2018). The Impact of Perceived Security and Consumer Innovativeness on e-loyalty in Online Travel Shopping. Journal of Travel & Tourism Marketing, 35(6), 819-834.

Kenneth B. Yap. (2010). Offline and Online banking-Where to Draw the line When Building Trust in e-banking? International Journal of Bank Marketing. 28(1), 27-46.

Kotler, P. (2003). Marketing Management. (11th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Lim, J. S., Hwang, Y., Kim, S., & Biocca, F. A. (2015). How social media engagement leads to sports channel loyalty: Mediating roles of social presence and channel commitment. Computer in Human Behavior, 46(1), 158–167.

Mohanarajan, A. (2016). Business as an art from. Master’s Thesis. Ontario College of Art and Design University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-06-2020

ฉบับ

บท

บทความวิจัย