การบูรณาการหลักธรรมาภิบาลเพื่อชีวิตที่ดีในสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
คำสำคัญ:
ธรรมาภิบาล, ชีวิตที่ดี, สังคมไทยสมัยปัจจุบันบทคัดย่อ
การแก้ปัญหาสังคมด้วยอาศัยหลักบูรณาการนั้นมีมานานพอสมควร แต่ก็ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้สังคมไทยหมดจากปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น อาจเป็นได้ที่เรายังไม่เข้าใจเป้าหมายของการมีชีวิตที่ดีในสังคมปัจจุบัน แต่เมื่อบูรณาการหลักธรรมาภิบาลเข้ากับแนวคิดที่ดีในสังคมปัจจุบันจะช่วยทำให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้นของการนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้ได้ชัดขึ้น ใน ๒ ทางคือ ๑. ชีวิตที่ดีในสังคมประชาธิปไตย คือพัฒนาความเป็นผู้นำ บุคคลต้นแบบ ความเป็นกัลยาณมิตร และแนวคิดแบบพระโพธิสัตว์ผู้มีความกล้าหาญทางคุณธรรมให้เกิดมากขึ้น โดยผลที่ตามมาคือการมีส่วนร่วม การเคารพกฎเกณฑ์ การงานมีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล และรู้สึกถึงภาระรับผิดชอบ ๒. ชีวิตที่ดีในเศรษฐกิจทุนนิยมเสรี พัฒนารูปแบบการสอนและการอบรมบุคคลากร ๒ รูแแบบ คือ แบบนักพฤติกรรมนิยมที่เน้นการตอบสนองต่อการกระทำผ่านกฎหมาย และแบบนักปัญญานิยมที่เน้นให้พัฒนาจิตใจให้รู้จักความถูกและผิด และปัญญาให้เข้าใจความจริง โดยผลที่ตามมาคือมีความเสมอภาค/เที่ยงธรรม และความเปิดเผย โปร่งใส และคุณธรรม
References
Robinson, K. and Aronica, L.. (2017). Creative Schools. Tr. by Wichaya Pitchamuk. (2nd ed.). Bangkok: Openworlds.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
MahachulalongKornrajavidyalaya University. (1996). Thai Tripitakas. Bangkok: MCU Press.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2527). พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถาแปล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
Mahamakut University. (1984). Thai Tipitakas and Atthakatha. Bangkok :Mahamakut University Press.
ปธาน สุวรรณมงคล. (2558). การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
Suwanmongkol, P. (2015). Public Management and Good governance. Bangkok: King Prajadhipok's Institute
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2557). ธรรมรัฐ-ธรรมราชา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Changkhwanyeun, P. (2014). Good Governance and Dhammaraja. (3nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2550). การพัฒนาที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
Phra Brahmagunabhorn (P.A.Payutto). (2007). Sustainable Development. (6th ed.). Bangkok: Sahadhammigga.
_______. (2557). ประชาธิปไตยจริงแท้คือแค่ไหน. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.
_______. (2014). What is Democracy. (6th ed.). Bangkok: Plitamma.
_______. (2558). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 31). กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.
_______. (2015). Dictionary of Buddhism. (31th ed.). Bangkok: Plitamma.
_______. (2559). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. (พิมพ์ครั้งที่ 46). กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
_______. (2016). Buddhadhamma. (46th ed). Bangkok: Sahadhammigga.
เรย์ มอนต์แวคส์. (2555). กฎหมาย: ความรู้ฉบับพกพา. แปลโดย ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล. กรุงเทพมหานคร: Openworlds.
Wacks, R. (2012). Law: A very short introduction. Tr. by Tapanunt nipittakul. Bangkok: Openworlds.
ริชาร์ด วิลกินสันและเคท พิคเค็ด. (2555). ความไม่เท่าเทียม. แปลโดย สฤณีอาชวานันกุล. กรุงเทพมหานคร: Openwords.
Wilkinson, R. and Pickett, K.. (2012). The Spirit Level. Tr. by Archawanankul, S. Bangkok: Openworlds.
ลูมารินอฟ. (2551). ชีวิตนี้มีค าถาม. แปลโดยสุรพงษ์สุวจิตตานนท์. กรุงเทพมหานคร: มายด์.
Marinoff, L. (2008). The big Question. Tr. by Suwacittanint, S. Bangkok: Mind.
ส.ศิวรักษ์. (2534). ความเข้าใจในเรื่องพระเจ้าอโศกและอโศกาวทาน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: เคล็ดไทย.
Siwaluk, S. (1991). The Understanding in King Ashoka. (3nd ed.). Bangkok: Ketthai.
วิชา มหาคุณ. (2558). จริยธรรมในวิชาชีพกฎหมาย. นครปฐม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.
Mahakul, W. (2015). Ethics in Law. Nakorn Pathom: Mahidol University Press.
เอลิซาเบ็ท กรีน. (2560). ครูคุณภาพสร้างได้. แปลโดย วิลาสินีฤกษ์ปฏิมา เดอเบส. กรุงเทพฯ: Openworlds.
Elizabeth Green. (2017). Buiding a Better Teacher. Tr. by Lakpatima, W. Bangkok: Openworlds.
David J. Kalupahana. (2008). Ethics in Early Buddhism. Delhi: Motilal Banarsidass.
Garrett Hardin. (2008). Lifeboat Ethics: The Case Against Helping the Poor. In Philosophy and Contemporary Issues. ed. by John R.Burr and Milton Goldinger. (9th ed.). New Delhi: Private Limited.
Karl H. Potter. (2002). Presuppositions of India’s Philosophy. Delhi: Motilal Banarsidass.
Harvey, P. (2000). An Introduction to Buddhist Ethics. UK: Cambridge University Press.