การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดนครราชสีมา (Health information behavior of the elderly in Nakhon ratchasima)

Authors

  • Chonticha Dinkhuntod Khonkaen University
  • Smarn Loifar

Keywords:

พฤติกรรมสารสนเทศ, ผูสูงอายุ, จังหวัดนครราชสีมา, information behavior, elderly, Nakhonratchasima Province

Abstract

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ  1)  ศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศเพื่อการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ในจังหวัดนครราชสีมา  2)  ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการแสวงหาและการใช้สารสนเทศของผู้สูงอายุ ในจังหวัดนครราชสีมา  โดยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ  กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดนครราชสีมา ทั้ง 32 อำเภอ  จำนวน  400  คน  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ  แบบสอบถาม  จำนวน 1 ชุด ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน กุมภาพันธ์  ถึงเดือน มีนาคม   2558จำนวนแบบสอบถามที่ได้กลับคืนทั้งสิ้น  399  ชุด  คิดเป็นร้อยละ  99.75 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย และค่า S.D 

ผลการวิจัย 1) พฤติกรรมสารสนเทศเพื่อการดูแลสุขภาพ 1.1) ด้านความต้องการสารสนเทศสุขภาพ พบว่า เมื่ออยู่ในสภาพร่างกายปกติ ผู้สูงอายุต้องการสารสนเทศด้านการรักษาพยาบาล และด้านการป้องกันโรค ในกรณีที่เจ็ฐป่วย ผู้สูงอายุต้องการสารสนเทศด้านการส่งเสริมสุขภาพ และด้านการรักษาพยาบาล 1.2 ) การแสวงหาสารสนเทศสุขภาพ พบว่า แหล่งสารสนเทศที่ผู้สูงอายุใชมากไดแก คนในครอบครัว ( = 3.99) และญาติ / เพื่อนบาน ( = 3.88) แหลงสารสนเทศสื่อมวลชนที่ผูสูงอายุใชมาก ไดแก โทรทัศน ( = 4.19) สวนแหลงสารสนเทศสถาบัน เชน หองสมุด และ
แหล่งสารสนเทศอินเตอร์เน็ต ผู้สูงอายุใช้น้อย ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ดำเนินการแสวงหาสารสนเทศดวยตนเองและใหผูอื่นชวย (รอยละ 3.4) รูปแบบสารสนเทศที่แสวงหา พบวา สวนใหญแสวงหาหนังสือในระดับมาก ( = 3.69) 2.3) การใชสารสนเทศ พบวา ผูสูงอายุสวนใหญเปนผูใชสารสนเทศที่แสวงหาเอง โดยเปนการใชสารสนเทศเพื่อการรักษาพยาบาลและเพื่อดูแลและสงเสริมสุขภาพ ซึ่งประเภทของสารสนเทศที่ผูสูงอายุใชสวนใหญใชในระดับมาก เปนคําพูดหรือคําบอกเลา ( = 3.91) 2) ปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาและ
ใชสารสนเทศ พบวา ปญหาที่อยูในระดับมาก ไดแก ไมรูแหลงที่จะคนหาขอมูลที่ตองการ ( = 3.64) แหล่งสารสนเทศที่ต้องการอยู่ไกล ( = 3.53) และไม่รู้วิธรการใช้อิเตอร์เน็ต ( = 3.70)


                                                                      Abstract


This study aims to 1) study the health information behavior about elderly
health care in Nakhon Ratchasima, and 2) study the problems and difficulties in
accessing and using information of the elderly in Nakhon Ratchasima. This study
was survey research. the subjects were 400 elderly who live in 32 districts in
Nakhon Ratchasima. The research instrument was questionnaire. The data were
collected during February to March, 2015. 399 questionnaires were accounted as
(99.75%) returned questionnaire. Data were analyzed by using statistical analyses
including percentage, mean, and standard deviation.

The results of the study were:
1) Elderly health care: when the elderly get health problems or illness,
they prefer going to district hospital or provincial hospital (42.60%), following by,
going to sub-district health promoting hospital (29.60), going to clinic and buying
medicine from drugstore (9.80), and going to indigenous medicine (folk or
traditional medicine) (8.00), respectively.
2) Health information behavior: 2.1) when they are healthy, they need
the health information of the elderly about medication and disease prevention.
When they are ill, they need the health information of the elderly about health
promotion and medication. 2.2) About the health information access, the elderly
prefer personal resources such as family members ( = 3.99) and relatives or
neighbors ( = 3.88). The mass media resources that they often use were such as
television media ( = 4.19). And the information services resources such as library
and the Internet were used in low level. The elderly access those resources by
themselves or asking someone for helping them (3.4%). The information resources
that the elderly mostly accessed was printed media ( = 3.69). 2.3) Most of the
elderly use the received information for themselves. The information were used for
their medication and health care and health promotion. The most of the information
they use were gotten from hearsay ( = 3.91).
3) The problems and difficulties in access and using information were they
didn't know what resources to search for the needed information ( = 3.64), the
resources were far from them ( = 3.53), and they don't know how to use the
Internet ( = 3.70).













Downloads

Published

2016-09-15

How to Cite

Dinkhuntod, C., & Loifar, S. (2016). การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดนครราชสีมา (Health information behavior of the elderly in Nakhon ratchasima). Journal of Information Science Research and Practice, 34(2). Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/66897

Issue

Section

Research Article