การวิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ของบรรณารักษ์และนักสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
Keywords:
การวิเคราะห์เนื้อหา, งานวิจัยสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์, บรรณารักษ์และนักสารสนเทศ, ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา, Content Analysis, Information Science Research, Librarians and Information Scientists, Academic LibrariesAbstract
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์เนื้อหางานวิจัยทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ของบรรณารักษ์และนักสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา 2) ศึกษาแนวทางการนำาผลการวิจัยไปพัฒนางานของบรรณารักษ์และนักสารสนเทศ และ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผลงานวิจัยทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ของบรรณารักษ์และนักสารสนเทศห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บรรณารักษ์และนักสารสนเทศสังกัดห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (มหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ) จำานวน 25 แห่ง และผลงานวิจัยของบรรณารักษ์และนักสารสนเทศ จำานวน 206 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวิเคราะห์งานวิจัยและแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ได้แก่ โปรแกรมพีเอชพีและมายเอสคิวแอล ผลการวิจัยพบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยบุคคล (ร้อยละ 94.66) ผู้วิจัยมีตำาแหน่งเป็นบรรณารักษ์มากที่สุด (ร้อยละ 84.51) งานวิจัยส่วนใหญ่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ (ร้อยละ 60.68) วิธีวิจัยที่ใช้เป็นการวิจัยเชิงสำารวจ (ร้อยละ 89.81) ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยส่วนใหญ่เป็นนิสิต นักศึกษา (ร้อยละ 60.19) โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายมากที่สุด (ร้อยละ36.41) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม (ร้อยละ75.73) ส่วนใหญ่ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์(ร้อยละ 90.78) และใช้สถิติค่าความถี่และร้อยละมากที่สุด (ร้อยละ 96.12) งานวิจัยส่วนใหญ่มีเนื้อหาเกี่ยวกับบริการห้องสมุด (ร้อยละ 88.83)
การดำาเนินงานห้องสมุดหรือแหล่งสารสนเทศ (ร้อยละ 77.67) และการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ (ร้อยละ 77.18)วัตถุประสงค์ในการผลิตผลงานวิจัยคือเพื่อใช้พัฒนางานในความรับผิดชอบ (ร้อยละ78.16)และเพื่อใช้แก้ไขปัญหางานในความรับผิดชอบ (ร้อยละ 66.02) ผู้วิจัยต้องการให้หน่วยงานจัดสรรเงินทุนสนับสนุนการวิจัยในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.79) รวมทั้งการส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการวิจัยในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.59) สำาหรับการประเมินประสิทธิผลระบบในภาพรวมของผู้ใช้พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.55)
คำสำคัญ: การวิเคราะห์เนื้อหา; งานวิจัยสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์; บรรณารักษ์และนักสารสนเทศ; ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
Abstract
The purposes of this research were to: 1) analyze the contents of library and information researchesof academic librarians and information scientists 2) study the ways the ways the academic librarians andinformation scientists used the researched for their jobs’ developments and 3) develop the database systemof the researches. The research populations were librarians and information scientists of 25 academiclibraries (public and autonomous) and 206 research titles done by the academic librarians and informationscientists. The research tools were a content analysis form and a questionnaire. Data were analyzedby using frequency, percentage, mean and standard deviation. The database system was developed byusing PHP and MySQL programs. The research results showed that most of the research reports conductedindividually (94.66 %) and most of the researchers were librarians (84.51 %). The majority of the workswere supported from research funds (60.68 %). The methodology was done by survey method (89.81 %).The population or samples were students (60.19 %) and simple random sampling was mostly used(36.41 %). The majority of the research method was completed through questionnaires (75.73 %) andanalyzed by SPSS for Windows (90.78 %), frequency counting and percentage (96.12 %). The results ofcontent analysis showed that most of the research reports were related to library services (88.83 %), libraryoperation or information resources (77.67 %) and using of information sources (77.18 %). According tothe application of those research reports, the results indicated that librarians and information scientistsconducted research in order to improve their works (78.16 %) and to solve problems (62.02 %). Regardingto research grants, it showed that librarians and information scientists required their organizations to allocatebudget for conducting research ( = 2.79). They also needed their libraries to manage research trainingcourses in order to develop their research knowledge and ability ( = 2.59). Result of the overall systemevaluated by users was efficient at a maximum level ( = 4.55).
Keywords: Content Analysis; Information Science Research; Librarians and Information Scientists; Academic Libraries