การจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเรื่อง การทอผ้ายกลำพูน

Authors

  • ทัศวรรณ ธิมาคำ ผู้จัดการ บริษัท ที.เอ พริ้นติ้งแอนด์มีเดีย
  • รัตนา ณ ลำพูน รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Keywords:

การจัดการความรู้, ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา, ผ้ายกลำพูน, การทอผ้า, การพัฒนาระบบ, Knowledge management, Lanna local wisdom, Lamphun Brocade Silk, Weaving, System development

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบและกระบวนการทอผ้ายกลำาพูนโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้และ2) พัฒนาระบบการจัดการความรู้เรื่อง การทอผ้ายกลำพูนวิธีการวิจัยประกอบด้วย การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยประยุกต์แนวคิดโมเดล SECI ในการสกัดความรู้ชนิดฝังลึกด้านการทอผ้ายกลำาพูนจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 คนและผู้มีประสบการณ์จำานวน 8 คน มาจัดทำาเป็นความรู้ชัดแจ้งในรูปแบบที่เป็นลายลักษณ์ภาพนิ่งวิดีทัศน์และเว็บไซต์และการวิจัยเชิงพัฒนา โดยใช้โปรแกรม PHP และ MySQL พัฒนาระบบการจัดการความรู้ในรูปแบบฐานข้อมูลบนเว็บไซต์(http://www.phayok-lamphun.org) ใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยสรุปว่ารูปแบบกี่ทอผ้าที่ใช้ทอผ้ายกลำาพูนคือ กี่ทอผ้าพื้นเมืองโบราณและกี่ทอผ้าพื้นเมืองประยุกต์รูปแบบลวดลายดั้งเดิมของผ้ายกลำาพูนและยังเป็นที่นิยมในปัจจุบันคือ ลายดอกพิกุล ส่วนองค์ความรู้กระบวนการทอผ้ายกลำาพูนได้แก่ การออกแบบลายกราฟ การกรอไหม การสาวไหม การเข้าหัวม้วน การนำาหัวม้วนขึ้นกี่ทอผ้า (การสืบหูก) การเก็บตะกอเหยียบ การคัดลายบนเส้นไหม การเก็บตะกอดอก การทอผ้ายกและการทอหน้านาง ขั้นตอนที่ยากและซับซ้อนที่สุดในการทอผ้าคือ การคัดลายซึ่งปัจจุบันมีผู้เชี่ยวชาญจำานวนลดน้อยลงผู้คัดลายต้องมีความรู้ทั้งการออกแบบลายกราฟ การสาวไหม การทอผ้ายกและการทอหน้านาง ลักษณะเด่นของผ้ายกลำาพูนคือ เนื้อผ้าแน่น สม่าเสมอเพราะผู้ทอมีเทคนิคเฉพาะในการทอ

ผลการประเมินระบบจากผู้ใช้ระบบ 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ 2 คน บุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6 คน นักศึกษา5 คน

คำสำคัญ: การจัดการความรู้; ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา; ผ้ายกลำพูน; การทอผ้า; การพัฒนาระบบ

 

Abstract

The purposes of this study were: 1) to investigate the pattern and the process of Pha Yok Lamphunweaving by using the knowledge management method and 2) to develop the knowledge managementsystem. Two research methods were used: 1) a qualitative research method by applying the SECI modelfor extracting tacit knowledge from 2 experts and 8 experienced personnel. The tacit knowledge, then wastransformed into the explicit knowledge in the forms of texts, pictures, videos and website; 2) a systemdevelopment approach was used for the knowledge database management and presentation on the web(http://www.phayok-lamphun.org) by using PHP and MySQL programs. utilized to develop the system asa database and presented on the website. The online questionnaire was used for system evaluation. toevaluate the system. Quantitative data was analyzed using mean ( \bar{X} ) and standard deviation.

Results of the research concluded that there are 2 types of loom for Pha Yok Lamphun weaving;a traditional loom and an applied loom. Traditional design of Pha Yok Lamphun is “Pikul” flower. Theweaving processes include graphic designing, thread spinning, thread reeling, thread winding, sewingframe arrangement, threads pattern arrangement by heddles (keb-ta-kor-yeab), inserting flower design,designing thread by heddles (keb-ta-kor-dok) and brocade weaving. It was found that the most difficult andcomplicated step in weaving processes was the inserting flower design. This is because the decreasingnumber of specialists who have knowledge on graphic designing, thread reeling and brocade weaving.Pha Yok Lamphun is outstanding because of its special weaving techniques wihc resulted in the goodquality of cloth, namely evenly and tightening.

The results of system evaluation by 4 groups of users: 2 experts, 6 staff of the relatedorganizations, 5 students and 15 interested people found that the system performance were ranked by allthe groups of users at the highest level in both its efficiency (X=4.61) and effectiveness (X=4.89).

Keywords: Knowledge management; Lanna local wisdom; Lamphun Brocade Silk; Weaving; System development

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

How to Cite

ธิมาคำ ท., ณ ลำพูน ร., & ปรางค์วัฒนากุล ท. (2013). การจัดการความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเรื่อง การทอผ้ายกลำพูน. Journal of Information Science Research and Practice, 28(2), 17–28. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/6348

Issue

Section

Research Article