การพัฒนาออนโทโลยีผลิตภัณฑเสริมอาหาร (The Development of A Dietary Supplement Product Ontology)

Authors

  • Kanitta Kunprajuab Khonkaen University
  • Nisachol Chamnongsri

Keywords:

ออนโทโลยี, ผลิตภัณฑเสริมอาหาร, Ontology, Dietary supplement

Abstract

บทคัดยอ


            งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบและพัฒนาออนโทโลยีผลิตภัณฑเสริม
อาหาร และประเมินประสิทธิภาพของออนโทโลยีที่พัฒนาขึ้น โครงสรางของออนโทโลยี
ออกแบบจากการศึกษาข้อมูลผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม
อาหาร และพฤติกรรมการสืบคนขอมูลผลิตภัณฑเสริมอาหาร เก็บรวบรวมขอมูลจาก
ผูบริโภคผลิตภัณฑเสริมอาหาร จํานวน 400 คนโดยใชแบบสอบถามออนไลน และนําผล
การศึกษาดังกลาวมาใชในการออกแบบคลาส และความสัมพันธระหวางคลาส พัฒนา
ออนโทโลยีด้วยโปรแกรมโปรทีเจเวอร์ชั่น 3.4.7 (Protégé version 3.4.7) และทำการประเมิน 
ประสิทธิภาพของออนโทโลยี ซึ่งแบงเปน 2 สวน คือ (1) การประเมินความเหมาะสมของ
โครงสร้างซึ่งทำการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ และ (2) การประเมินประสิทธิภาพการค้นคืน ของออนโทโลยี โดยใชคําคนที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลพฤติกรรมการสืบคนขอมูล
ผลิตภัณฑเสริมอาหารของผูบริโภคมาใชในการทดสอบหาคาความแมนยํา (Precision)
คาความระลึก (Recall) และคาความเหวี่ยง (F-measure) ผลการวิจัยพบวา ออนโทโลยี
ผลิตภัณฑเสริมอาหารที่พัฒนาขึ้น มีโครงสรางเหมาะสมในระดับมาก มีคา X = 3.16,
คา S.D. = 0.17 และมีผลการประเมินประสิทธิภาพการคนคืนอยูในระดับดี ซึ่งมีคาความ
แมนยําเฉลี่ยที่ 0.75 คาความระลึกเฉลี่ยที่ 0.81 และคาความเหวี่ยงที่ 0.77

Abstract


            The research objectives were to design and develop a dietary supplement
product ontology and to evaluate its effectiveness. The ontology structure design
was derived from the review of the literature on dietary supplementary products,
the product consumption behavior and the consumers’ searching behavior for the
product information. An on-line questionnaire was used to collect data from 400
dietary supplementary consumers. The study results were then employed to design
the ontology classes and their relationship using Protégé 3.4.7. The ontology
assessment was conducted to determine 2 features: l) the ontology structure
suitability assessed by experts and 2) the ontology retrieval effectiveness
evaluated by the search terms used by the product consumers in order to fine
precision, recall and F-measure. The research findings revealed that the structure
of the dietary supplementary products was found to be appropriate at the maximum
level at X = 3.16 and S.D. = 0.17, and the retrieving effectiveness was reported at
a good level with the average precision of 0.75, average recall of 0.81, and the
average F-measure of 0.77


Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Additional Files

Published

2016-05-19

How to Cite

Kunprajuab, K., & Chamnongsri, N. (2016). การพัฒนาออนโทโลยีผลิตภัณฑเสริมอาหาร (The Development of A Dietary Supplement Product Ontology). Journal of Information Science Research and Practice, 34(1). retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/56997

Issue

Section

Research Article