กระบวนการสรางวาทกรรมไอซีทีในสังคมไทย (The Process in Constructing the Discourse of ICT on Thai Social)
Keywords:
ICT Discourse, ICT, Constructing DiscourseAbstract
บทคัดยอการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา คนหา และวิเคราะห กระบวนการสรางวาทกรรมไอซีทีในสังคมไทย ด้วยการใช้วิธี การวิจัยเชิงคุณภาพ ุโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และหลักการวิเคราะห์ วาทกรรม ตามแนวคิดของ Foucault พร้อมกันนี้ผู้ ูวิจัยไดเก็บขอมูล ในรูปแบบของตัวบท (text) จากเอกสารที่ได้คัดเลือกจำนวน 625 รายการทั้งเป็นสิ่งพิมพและอินเทอรเน็ต ผลการวิจัยพบวา รัฐไดมีกระบวนการสรางและการใหความหมายของวาทกรรมไอซีที ดวยการทําใหสังคมเชื่อวา ไอซีทีคือการพัฒนาไปสูความทันสมัยดวยการใชอํานาจที่แยบยล และสรางความชอบธรรมของรัฐ สรางอุดมการณใหคนในสังคมยอมรับ สยบยอม เชื่อฟง และปฏิบัติตามวาทกรรมที่สรางขึ้นถึงคุณภาพของชีวิตความสะดวกสบาย และเพิ่มศักยภาพของการแข่งขันโดยผ่านภาคปฏิบัตการของวาทกรรมที่หลากหลาย และการผลิตซํ้าวาทกรรม การใหความหมายของวาทกรรมไอซีที พบวามีการใหความหมายเปลี่ยนแปลงไปตามบริบทของสังคม ความสัมพันธเชิงอํานาจในการสร้างวาทกรรมไอซีทีรัฐได้ใช้เป็นเครื่องมือเพื่ออ้างความชอบธรรม โดยส่งผ่านความรู้อตลักษณ์และอุดมการณ์ ด้วยคำว่า ‘การพัฒนา' เพื่อตอกย้ำ ซึมซับ ให้สังคมเชื่อว่าไอซีที คือการพัฒนาไปสูความทันสมัย
ABSTRACT
The objective of this research was to study, search for, and analyze
the process in constructing the discourse of ICT on Thai Social. This study by
qualitative research methodology through the Content Analysis, Discourse Analysis
Principle was based on Foucault’s Approach. In the meanwhile, the researcher
collected data in the form of Text from documents selected 625 items were obtained
including the printed materials, and internet.The research findings revealed that:
The process for constructing and defining the ICT Discourse by making society
believe that the ICT was the development for modernity by using tactful power, the
usage of idealism for people in society to accept, comply with, obey, and follow the
constructed discourse regarding to Quality of Life, convenience and comfort, and
the increase of potentiality for competition through variety of discursive practice and
enact discourse. In defining the ICT Discourse, it was found that the definitions
were changed according to social context. In the aspect of the power relations
in constructing the ICT Discourse, the government used them as instruments for
developing legitimacy through knowledge identity and ideal by the word “Development,”
for repeating and absorbing for society to believe that the ICT was the Development
into modernity.
Downloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2016-01-16
How to Cite
Sangkhapinyo, P. (2016). กระบวนการสรางวาทกรรมไอซีทีในสังคมไทย (The Process in Constructing the Discourse of ICT on Thai Social). Journal of Information Science Research and Practice, 31(2). retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/45936
Issue
Section
Research Article