การศึกษาสภาพของแหล่งเรียนรู้ในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่สนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษา ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครขอนแกน

Authors

  • Nipaporn Satham Khonkaen University

Keywords:

Learning Resource, Learning and Teaching Process, Primary School, Khon Kaen Municipality

Abstract

บทคัดยอ
การศึกษาสภาพของแหลงเรียนรูในอําเภอเมือง จังหวัดขอนแกนที่สนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครขอนแกน พบว่า มีแหล่งเรียนรู้ จำนวน 29 แหล่ง แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานที่ที่มนุษย์สร้างขึ้นมากที่สุด จํานวน 20 แหลง ซึ่งจัดกลุมไดดังนี้ 1) พิพิธภัณฑ หอศิลป 2) หองสมุด ศูนยการเรียนรูสําหรับเยาวชน 3) สถานที่สืบทอดศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม 4) สถานที่ทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม รองลงมาแหลงเรียนรูประเภทบุคคล จํานวน 6 แหลง ซึ่งจัดกลุมไดดังนี้ 1) ศิลปน หมอลํา ครูเพลง ครูศิลปะ 2) ปราชญชาวบาน ดานการรองสรภัญญะ  3) บุคคลสำคัญทางศาสนา หมอพราหมณ และแหล่งเรียนรู้ที่เป็นแหล่งสืบทอดประเพณี จำนวน 3 แหล่ง ได้แก ประเพณีออกพรรษา ประเพณีสงกรานต ประเพณผูกเสี่ยว ผลการศึกษา พบวาแหลงเรียนรูเหลานี้ มีเนื้อหา วัตถุประสงค สื่อการเรียนรู กิจกรรม หรือวิธีการเรียนรู้ที่สนับสนุนกระบวนการเรียนการสอน ซึ่งครูผูสอนสามารถใชเปนแหลงสนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนมากกว่า  1 กลุ่มสาระและในแต่ละแหล่งเรียนรู้ สนับสนุน สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จํานวน 24 แหลง สาระการเรียนรูศิลปะ จํานวน 20 แหลง สาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี จํานวน 17 แหลง สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำนวน 15 แหล่งสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร จำนวน  6 แหล่งสาระการเรียนรูคณิตศาสตร จํานวน 5 แหลง สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ จํานวน 5 แหลง และสาระการเรียนรูละสุขศึกษา และพลศึกษา จํานวน 4 แหลงนอกจากนี้ครูผูสอนเห็นวา แหลงเรียนรูทั้ง 3 ประเภท มีเนื้อหา วัตถุประสงค สื่อการเรียนรู้กิจกรรมหรือวิธีการเรียนรู้ที่สนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนสามารถใชแหล่งเรียนรูนอกหองเรียน และใชสื่อ กิจกรรมตางๆ ของแหลงเรียนรูมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเนื้อหาในรายวิชาที่สอนในสาระการเรียนรูไดทั้ง 8 สาระ

 

Abstract
The study found that the total of 29 resources was the place where
men made for 20 resources, it could be grouped as follows: 1) Museums, art
galleries, 2) libraries, learning center for the youth, 3) the place for religious, art,
cultural heritage, 4) the place for science, technology and environment, followed by
6 individual learning resources grouped as follows: 1) Artists, folk singers, music
teachers, art teachers. 2) Local philosophers in the aspect of singing Srpayya.
3) Important people in religion Brahmin doctor and learning resources for three
inherited traditional resources, including the tradition of Buddhist Lent, Songkran
festival, Phuk Sieo Tradition.

The findings showed that these learning resources had content, objectives, learning
media, activities or learning methods for supporting instructional process that the
teacher could use as the resources more than one learning substance group. In
each resource, it could be use as the resource for supporting learning substance
in social studies, religion and culture for 24 resources, learning substance in art
for 20 resources, learning substance in career and technology for 17 resources,
learning substance in Thai language for 15 resources, learning substance in Science for 6 resources, learning substance in Mathematics for 5 resources, learning
substance in foreign language for 5 resources, and learning substance in health
and physical education for four resources.
In addition, teachers perceived that three types of learning substance had
content, objectives, learning media, activities or learning methods for supporting
instructional process that could be used as learning resources outside classrooms,
and used media, activities of learning resources to integrate in instruction in the
course for all 8 learning substances.




Downloads

Published

2016-01-16

How to Cite

Satham, N. (2016). การศึกษาสภาพของแหล่งเรียนรู้ในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่สนับสนุนกระบวนการเรียนการสอนระดับชั้นประถมศึกษา ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครขอนแกน. Journal of Information Science Research and Practice, 31(2). Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/45935

Issue

Section

Research Article