แนวทางการพัฒนาปจจัยสนับสนุนดานสารสนเทศที่สอดคลอง กับความตองการและพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมในเขตเทศบาลเมืองตนเปา อําเภอสันกําแพงจังหวัดเชียงใหม่

Authors

  • Surachart Putthima Khonkaen University

Keywords:

Small and Medium Enterprises (SMEs), Information needs, Information seeking behaviors

Abstract

บทคัดยอ
บทความนี้นําเสนอแนวทางการพัฒนาปจจัยสนับสนุนดานสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นจากการศึกษาความต้องการและพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจของผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมในเขตเทศบาลเมืองตนเปา อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ผูวิจัยรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณแบบเจาะลึก จากผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม จํานวน 27 รายที่ไดมาจากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงผลการวืจัยพบว่า วิสาหกิจขนาดกลางมีความต้องการสารสนเทศและมีแนวโนมที่จะแสวงหาสารสนเทศในการดําเนินธุรกิจของตนมากกวาวิสาหกิจขนาด ยอม ผูประกอบการโดยรวมตองการสารสนเทศที่เกี่ยวกับปจจัยทั้งภายในและภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลด้านการตลาด ข้อมูลด้านการเงินและข้อมูลด้านเทคโนโลยีการผลิตในรูปของเนื้อหาเชิงพรรณนาตัวเลขและสถิติ รวมถึงเนื้อหาเชิงวิเคราะห์หลากหลายรูปแบบที่สามารถเขาถึงไดงาย เปนปจจุบันและสามารถนําไปใชไดทันทีและผูประกอบการมีวัตถุประสงค์ในการใช้สารสนเทศที่หลากหลายสำหรับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ พบว่าผู้ประกอบการแสวงหาสารสนเทศจากทางแหล่งสารสนเทศภายในสถานประกอบการและภายนอกสถานประกอบการ สำหรับปัญหาและอุปสรรคที่ผู้ประกอบการประสบในการแสวงหาและใชสารสนเทศ คือ ปัญหาจากตัวสารสนเทศปัญหาจากแหล่งสารสนเทศที่เป็นหน่วยงานปญหาจากปญหาจากแหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคลและปัญหาที่เกิดจากตัวผู้ประกอบการเอง ทั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำผลการศึกษาดังกล่าวมาจัดทำแนวทางการพัฒนาปัจจัยสนับสนุนดานสารสนเทศที่แบงออกเปน 3 กลยุทธตามระยะเวลาในการดําเนินการ คือ กลยุทธ์เรงดวน กลยุทธระยะกลางและกลยุทธระยาว

Abstract
This article presents the guidelines for developing information system and
service developed by studying information needs and seeking behaviors of small
and medium business operations in Ton Pao municipality, San Kam Phaeng district,
Chiang Mai. Data was collected by in-depth interview from 27 SMEs entrepreneurs,
who were selected by purposive sampling. The findings revealed that medium
business owners have higher information needs and seek for running their business
more than small business owners. Overall, SMEs entrepreneurs needed information
related to both internal and external factors for running, including information about
marketing, financial, and manufacturing technology. The business information
needed was in descriptive, numbers and statistic, and various types of analytical
description that is easy to access, up to date, and instant use. SMEs entrepreneurs
needed information for different purposes. In term of information seeking behaviors,
SMEs entrepreneurs sought for information from both inside and outside their
enterprises. Furthermore, the findings reveal that all SMEs entrepreneurs had
problems and obstacles in information seeking and using, including problem of
information itself, information sources which are organizations, persons, and the
entrepreneur themselves. The research results were developed to guidelines for
developing of information factor supporting. This plan has three strategies regarding
the implement period of time; urgent, medium-term, and long-term strategy.


Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

2016-01-16

How to Cite

Putthima, S. (2016). แนวทางการพัฒนาปจจัยสนับสนุนดานสารสนเทศที่สอดคลอง กับความตองการและพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมในเขตเทศบาลเมืองตนเปา อําเภอสันกําแพงจังหวัดเชียงใหม่. Journal of Information Science Research and Practice, 31(1). Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/45928

Issue

Section

Research Article