การสังเคราะหงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (A Synthesis of the Northeast Community- base research)
Keywords:
การสังเคราะหเอกสาร งานวิจัยเพื่อทองถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Document Synthesis, Local Research, Northeast’s Local ResearchAbstract
บทคัดยอ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสังเคราะหงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ ทําการศึกษาดวยวิธีการวิเคราะหเอกสาร (Document analysis) ประชากรที่
ศึกษา ไดแก งานวิจัยเพื่อทองถิ่นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดรับทุนจากสํานักงาน
กองทนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ตีพิมพ์เผยแพร่ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2554 ในฐานข้อมูล
หองสมุดออนไลน E-library จํานวนทั้งสิ้น 256 โครงการ ผลจากการสังเคราะหตาม
วิธีวิทยาวิจัยทองถิ่น พบวา ปที่ทําการวิจัยมากที่สุดคือ ป พ.ศ. 2551 กลุมเนื้อหาวิจัยที่
ทาจำนวนมากที่สุด ร้อยละ 24.60 คือ ชุมชนการจัดการทรัพยากร กลุ่มภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนลาง 2 ประกอบดวย จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อํานาจเจริญ มีการทําวิจัยเพื่อทองถิ่นมากที่สุดรอยละ 35.15 เมื่อจําแนกเปนรายจังหวัด พบวา จังหวัด อุบลราชธานี เป็นพื้นที่ที่มีการทำการวิจัยเพื่อท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีจำนวนมาก ถึงรอยละ 16.79 ลักษณะผลงานวิจัยเปนการมีสวนรวมในการแกไขปญหาในชุมชน ร้อยละ 25.00 กรอบความคิดการวิจัยจากฐานของปรากฏการณ ั ของพื้นที่รวมกับฐานของประสบการณ รอยละ 87.50 ใชวิธีการวิจัยแบบมีสวนรวม รอยละ 52.73 รูปแบบการจัดทีมวิจัยแบบผสมระหว่างคนในพื้นที่และคนนอกพื้นที่ ร้อยละ 61.71 การพัฒนาโครงการ วิจัยใชกระบวนการรวมพัฒนาโจทยการวิจัยและคําถามการวิจัย ระหวางนักวิจัยหลัก นักวิจัยไทบาน ผูนําชาวบานในพื้นที่และผูประสานงานการวิจัยเพื่อทองถิ่น ประเด็นและปญหาการวิจัยเพื่อทองถิ่นสวนใหญเปนผลจากนโยบายของรัฐมากที่สุด รอยละ 48.82 วิธีการเก็นบรวบรวมข้อมูลมากที่สุด คือ การจัดเวทีวิจัย ร้อยละ 24.60 การสรุปผลการวิจัยก่อนการนําผลวิจัยไปใชประโยชนโดยใชวิธีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนขอมูล รอยละ 42.97