การรู้เท่าทันสื่อ: ทักษะสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Media Literacy: Skill for 21th Century Learning)

Authors

  • ดร.เทอดศักดิ์ ไม้เท้าทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ

Keywords:

การรู้เท่าทันสื่อ, การศึกษาการรู้เท่าทันสื่อ, บทบาทของห้องสมุด, Media literacy, Media literacy education, Role of library

Abstract

บทคัดย่อ

    การรู้เท่าทันสื่อเป็นทักษะสำคัญสำหรับการดำเนินชีวิตของประชาชนในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากสื่อสมัยใหม่มีรูปแบบที่หลากหลายและมีความซับซ้อนมากขึ้น ประชาชนจึงจำเป็นต้องเรียนรู้วิธีการในการเข้าถึง การประเมิน การวิเคราะห์ และการสร้างสื่อ เพื่อให้สามารถตัดสินใจเลือกรับข่าวสารได้อย่างถูกต้อง บทความนี้นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับความเป็นมาของการรู้เท่าทันสื่อ ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อ ความสำคัญของการรู้เท่าทันสื่อ แนวคิดหลักของการรู้เท่าทันสื่อ การศึกษาการรู้เท่าทันสื่อ คุณลักษณะของผู้รู้เท่าทันสื่อ และบทบาทของห้องสมุดในการรู้เท่าทันสื่อ

คำสำคัญ: การรู้เท่าทันสื่อ; การศึกษาการรู้เท่าทันสื่อ; บทบาทของห้องสมุด

Abstract

    Media literacy is essential skill for people’s lifestyles in the 21th century.Since new media have a variety of format and complexity, one needs to learn howto access, evaluate, analyze, and create media in order to decide to perceive

Keywords: Media literacy; Media literacy education; Role of library

 

Downloads

Download data is not yet available.

Downloads

Published

2015-01-24

How to Cite

ไม้เท้าทอง ด. (2015). การรู้เท่าทันสื่อ: ทักษะสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Media Literacy: Skill for 21th Century Learning). Journal of Information Science Research and Practice, 32(3). retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/29552