“ความทรงจําทางสังคม” ในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์ล้านนา นของ กฤษณา อโศกสิน 1

Main Article Content

มาลี ไพรสน

Abstract

การสร้างสรรค์งานศิลปวรรณกรรมจัดเป็นพลังการเคลื่อนไหวทางสังคม ส่วนหนึ่งที่นักประพันธ์ ใช้เป็นกลไกในการตอบโต้กับคลื่นโลกาภิวัตน์ ไม่ว่าจะโดยจงใจหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้เพราะนักประพันธ์ ต่างต้องรับรู้และตกอยู่ภายใต้ชะตากรรมเดียวกันกับเพื่อนมนุษยชาติทั้งมวล เพียงแต่อาจมี คุณลักษณะพิเศษในแง่จิตสํานึกทางสังคมและความเป็นผู้มีปรีชาหยั่งเห็น ซึ่งศิลปินผู้สร้างสรรค์งาน จะมีมิติการแสดงออกที่แตกต่างจากคนทั่วไป สิ่งที่น่าสนใจจึงอยู่ที่ว่าศิลปินนั้นสร้างสรรค์ศิลป วรรณกรรมขึ้นมาเพื่อทําหน้าที่สื่อความหมายหรือให้คําตอบแก่สังคมในท่ามกลางวิกฤตทางอารยธรรม ที่กําลังถูกครอบงําทําลายอย่างไร ผู้เขียนเห็นว่าชุดนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ล้านนาของกฤษณา อโศกสิน เป็นผลงานศิลปกรรมหลังสมัยใหม่ที่อยู่ในขบวนแถวบทบาทหน้าที่ดังกล่าว 

Article Details

How to Cite
ไพรสน ม. . (2012). “ความทรงจําทางสังคม” ในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์ล้านนา นของ กฤษณา อโศกสิน 1 . Journal of International Studies, Prince of Songkla University, 2(1), 75–91. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jis/article/view/246607
Section
Book Review

References

กฤษณา อโศกสิน. (2544). เวียงแว่นฟ้า, กรุงเทพฯ: ดับเบิ้ลนายน์

กฤษณา อโศกสิน- (2546). หนึ่งฟ้าดินเดียว กรุงเทพฯ เพื่อนดี

กฤษณา อโศกสิน. (2547). ขุนหอคำ. กรุงเทพฯ เพื่อนดี