The รูปแบบการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อการสื่อสารทางการตลาดเชิงเนื้อหาของวงออร์เคสต้าระดับนานาชาติ

Main Article Content

ปุญญวาสน์ มโนมัยพิบูลย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีทิพ บุญแย้ม
ภาวัต อุปถัมภ์เชื้อ

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องรูปแบบการใช้เนื้อหาเชิงการตลาดเพื่อการสื่อสารทางการตลาดของวงออร์เคสตร้าระดับนานาชาติ มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาเทคนิค และผลตอบรับในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่วงออร์เคสตร้าระดับโลกและภูมิภาคเอเชียใช้ในการสื่อสารทางการตลาดรวมถึงศึกษาความเหมือนและแตกต่างของการใช้เนื้อหาเชิงการตลาดในสื่อสังคมออนไลน์ของวงออร์เคสตร้าระดับโลกและวงออร์เคสตร้าในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำเสนอแนวทางการสื่อสารทางการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่สามารถพัฒนากลุ่มลูกค้าใหม่ให้กับวงออร์เคสตร้าในประเทศไทยหรือวงออร์เคสตร้าอื่น ๆ ได้ โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ประเภทการวิจัยเชิงเอกสาร ผลการศึกษาพบว่าการใช้เทคนิคในการนำเสนอเนื้อหาของวงออร์เคสตร้ามีการเลือกใช้เทคนิคที่หลากหลายจาก 17 เทคนิคและเลือกใช้เทคนิคสนับสนุนที่แตกต่างกันออกไป วงออร์เคสตร้าในระดับโลกที่ได้รับผลตอบรับสูงจะมีการนำเสนอเนื้อหาเชิงการตลาดในสื่อสังคมออนไลน์ขึ้นมาใหม่ด้วยตัวเอง และมีความเป็นปัจจุบัน สม่ำเสมอในการให้ข้อมูลกับผู้ติดตามจึงสามารถสร้างผลตอบรับที่มากขึ้นในสื่อสังคมออนไลน์ได้

Article Details

How to Cite
มโนมัยพิบูลย์ ป., บุญแย้ม ต. ., & อุปถัมภ์เชื้อ ภ. (2020). The รูปแบบการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อการสื่อสารทางการตลาดเชิงเนื้อหาของวงออร์เคสต้าระดับนานาชาติ. วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 10(2), 216–248. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jis/article/view/244802
บท
บทความวิจัย

References

จิราภรณ์ ศรีนาค และขวัญฟ้า ศรีประพันธ์. (2557). การวิเคราะห์ประเภท รูปแบบ เนื้อหา และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในประเทศไทย. วารสารการสื่อสารมวลชน, 2(1), 81-99.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2546). สังคีตนิยมความทราบซึ้งในดนตรีตะวันตก (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดับบลิวพี. (2561). สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก “ไทย” เสพติดเน็ตมากสุดในโลก-“กรุงเทพ” เมืองผู้ใช้ Facebook สูงสุด. สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2562, สืบค้นจาก https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/global-and-thailand-digital-report-2018/.

ธนัฏฐา สาริกบุตร. (2558). การวิเคราะห์เนื้อหาป้ายโฆษณาบนถนนริมทางเท้าส่งผลต่อการรับรู้และการจดจําของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ธิดาใจ จันทนามศรี. (2560). เนื้อหาและรูปแบบในการสื่อสารผ่านสื่ออินโฟกราฟิกเพื่อสร้างการรับรู้และจดจําบนเฟซบุ๊กแฟนเพจของ อินโฟกราฟิก ไทยแลนด์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

นิวัฒน์ ชาตะวิทยากูล และ ไกรชิต สุตะเมือง. (2555). แรงจูงใจในการแบ่งปันวีดีโอคอนเทนท์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตชาวไทยกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริหารธุรกิจ, 2(4), 1-18.

ประดิษฐ์ จุมพลเสถียร. (2544). การสื่อสารการตลาดเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน).

พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2558). กลยุทธ์สื่อสารองค์กร แบรนด์ และสื่อสารการตลาด ท่ามกลางการแข่งขันกับสถานการณ์วิกฤต. กรุงเทพฯ: สมาคมประชาสัมพันธ์ไทย.

ภิเษก ชัยนิรันดร์. (2555). กลยุทธ์การตลาดโซเชียลมีเดีย. กรุงเทพฯ: เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น.

เสกสรร รอดกสิกรรม. (2558). การสร้างความยั่งยืนด้วยการใช้เนื้อหาเชิงการตลาด (Content Marketing) เพื่อสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันทางธุรกิจ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อดิเทพ บุญสุข. (2555). การสื่อสารทางการเมืองเรื่องพลังงานในอ่าวไทย: กรณีศึกษาในช่วงปี พ.ศ. 2524-2553. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสื่อสารการเมือง, มหาวิทยาลัยเกริก.

ฮูทสุท (Hootsuite). (2562). สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก 2019 คนไทยใช้ติดเน็ตมากสุดในโลก. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562, สืบค้นจาก https://www.thinkaboutwealth.com/digitalstatworld-thailand2019.

Berlo, D. K.. (1960). The Process of Communication: An Introduction to Theory and Practice. New York: Holt, Rinehart and Winston.

Kolb, B.M. (2000). ‘You call this fun?’ Reactions of young, first-time attendees to a classical concert. In Weissman D (ed.) Music Industry Issues and Studies, New Orleans: Loyola University Press.

Lasswell, H. (1948). The Structure and Function of Communication in Society” in Lyman Bryson (ed.) The Communication of Ideas, New York: Harper and Brothers.

Lei, S.S.I, Pratt, S. & Wang, D. (2017). Factors influencing customer engagement with branded content in the social network sites of integrated resorts. Asia Pacific Journal of Tourism Research, 22(3), 316-328.

Liu, X., Wei Shi, S., Teixeira, T. & Wedel, M. (2018). Video Content Marketing: The Making of Clips. Journal of Marketing; 82(4), 86-101.

Midgette, A. (2005). Decline in Listeners Worries Orchestras. Retrieved March 13, 2019, from https://www.nytimes.com/2005/06/25/arts/music/decline-in-listeners-worries-orchestras.html.

Mucan, B., & Ö zeltürkay, E. Y. (2014). Social Media Creates Competitive Advantages: How Turkish Banks Use This Power? A Content Analysis of Turkish Banks through their Webpages. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 148, 137-145.

Ravanas, P. (2008). The Chicago Symphony Orchestra Reverses a Decade of Decline with New Programs, New Services and New Prices. International Journal of Arts Management, 10(2), 68-78.

Rietzen, J. (2007). What is digital marketing?. Retrieved 12 March, 2019, from http://www.mobilestorm.com/resouces/digital-marketing-blog/what-isdigitalmarketing.

Wertime, K., & Fenwick, I. (2008). Digi marketing: The essential guide to new media and digital marketing. Singapore: John Wiley & Sons (Asia).

Yan Xin, J., Ramayah, T., Soto-Acosta, P., Popa, S., & Ai Ping, T. (2014). Analyzing the Use of Web 2.0 for Brand Awareness and Competitive Advantage: An Empirical Study in the Malaysian Hospitability Industry. Information Systems Management, 31(2), 96-103.