บทบาทของหน่วยงานภาครัฐและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารอย่างยั่งยืน ในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน กรณีศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต
Main Article Content
บทคัดย่อ
กระแสการท่องเที่ยวเชิงอาหารและการได้รับรางวัลเมืองสร้างสรรค์ด้านวิทยาการอาหารจากองค์กรยูเนสโกของจังหวัดภูเก็ตถือเป็นโอกาสอันดีในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อีกทั้งการพัฒนาการท่องเที่ยวจะสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีหากได้รับการร่วมมือภายในชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากหน่วยงานภาครัฐ งานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาบทบาทของหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดภูเก็ตต่อการพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหารและเพื่อศึกษาการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวจีน การวิจัยเชิงคุณภาพได้ใช้เพื่อวิเคราะห์การศึกษาผ่านการเก็บข้อมูลจากการสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ร้านอาหารไทยและนักท่องเที่ยวชาวจีนในเขตเทศบาลนครภูเก็ต
ทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนมีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่แตกต่างกันไปในการพัฒนาชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงอาหารโดยคำนึงถึงความสำคัญและคุณค่าทางวัฒนธรรมเป็นพื้นฐาน ความร่วมมือในด้านอื่นๆนอกเหนือจากการอบรมให้ความรู้ระหว่างหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและร้านอาหารยังพบเห็นได้น้อย การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารโดยการวิเคราะห์ผ่านส่วนประสมการตลาดและโมเดล PHUKET ช่วยดึงดูดความสนใจนักท่องเที่ยวชาวจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพและช่วยเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรมอาหารของจังหวัดภูเก็ต
Article Details
ข้อความและความคิดเห็นที่แสดงในบทความ เป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ และคณะผู้จัดทำแต่อย่างใด
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิเทศศึกษา ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิเทศศึกษา หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิเทศศึกษา ก่อนเท่านั้น
References
เลิศพร ภาระสกุล. (2559). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Burns, P. M. (1999). An introduction to tourism and anthropology. New York: Routledge.
Cohen, E. (1979). A Phenomenology of Tourist Experiences. Sociology,13(2), 179-201.
Felsenstein, D., & Fleischer, A. (2003). Local festivals and tourism promotion: The Role of Public Assistance and Visitor Expenditure. Journal of Travel Research, 41(4), 385-392.
Flew, T. (2014). Creative Industries: A New Pathway. InterMEDIA, 42(1), 11-13.
Goffman, E. (n.d.). The Presentation of Self in Everyday Life. Retrieved August 1, 2018 from https://pdfs.semanticscholar.org/ad26/49c8c32890ce1afb346b333e19bec089a6a6.pdf
Hoffman, K. D., Czinkota, M. R., Dickson, P. R., Dunne, P., Griffin, A., Hutt, M. D., Krishnan, B. C., Lusch, R. F., Ronkainen, I. A., Rosenbloom, B., Sheth, J. N., Shimp, T. A., Siguaw, J. A., Simpson, P. M., Speh, T. W. & Urbany, J. E. (2005). Marketing principles and best practices. 3rd ed. US: Thomson south-western.
Kasikorn Research Center. (2018). แนวโน้มเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวปี 2561. Retrieved July 24, 2018 fromhttp://ttaa.or.th/wp-content/uploads/2017/09/%E0% B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3
%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A718012561.pdf
Krachodnok, S. (2011). Thai food presentation: Emphasize on Thai Characteristic. Veridian-E Journal, Silpakorn University, 3(1), 63-78.
Mason, R.E., Rath, P.M., Husted, S.W. & Lynch, R.L. (1995). Marketing Practices and Principles. 5th ed. New York, NY: Glencoe McGraw-Hill.
McCarthy, E.J. & Perreault, JR.W.D. (1993). Basic Marketing: A Global-Managerial Approach. 11th ed. Homewood, IL: Irwin.
Pooklookpiclic. (2012). วิจารณ์หนังสือ: แนวความคิดฮาบิทัสของปิแอร์ บูร์ดิเยอกับทฤษฎีทางมานุษยวิทยา. Retrieved July 24, 2018 from http://pooklookpiclic. tumblr.com/post/19555948887/%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B887%E0%B8%9B-%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3
Postill, J. (2008). What is Practice Theory?. Retrieved July 24, 2018 from https://johnpostill.com/2008/10/30/what-is-practice-theory/
Phuket Gastronomy. (n.d.). Retrieved March 15, 2018 from http://phuketgastronomy.com/
Phuket Gazette. (December 23, 2015). UNESCO Bubs Phuket ‘City of Gastronomy’. The Nation. Retrieved June 3, 2018 from http://www.Nationmultimedia. com/aec/UNESCO-dubs-Phuket-City-of-Gastronomy-30275512.html
Punturee, P. (2014). Tourist Experience: The creation of Food Tourism Activities in Thailand. Master’s Thesis in Hotel and Tourism Management, Naresuan University.
Rojrungsat, P. (2013). Importance and Communicative Learning Activities Through Food Tourism for International Women Market Tourists of Thailand. Journal of Thai Hospitality and Tourism, 8(1), 61-72.
Sato, T. (2011). Functionalism Its Axiomatics. Retrieved July 28, 2018 from http://Sociopedia.isa
Shea, G. (2017, 24 June). Best 23 Cities for Street Food from Miami to Tokyo. CNN travel. Retrieved January 4, 2018 from http://edition.cnn.com/travel/article/best-cities-street-food/index.html.
Structural Functionalism. (n.d.). Retrieved July 28, 2018 from http://www.gdcbemina.com/Study-Material/BA-FINAL-YEAR-STUDY-MATERIAL(SOCIOLOGY)/PAPER-A-unit_3-_Perspectives_of_Sociology.doc
Smith, V. L. (1989). Hosts and Guests: The anthropology of Tourism (2nd ed.). University of Pennsylvania press.
Subedi, D. P. (n.d.). Structural Functional Perspective in Sociology. [Web log post]. Retrieved July 28, 2018 from http://subedi.orgfree.com/docs/Structural_Functionalism.pdf
Tittenbrun, J. (2016). Concepts of Capital in Pierre Bourdieu’s Theory. Miscellanea Anthropologica et Sociologica, 17(1), 81-103.
Thansettakij Multimedia. (2018, Feb 13). กสิกรไทยคาดปี 61 นักท่องเที่ยวจีนเที่ยวไทย 10.4-10.6 ล้านคน. Thansettakij Multimedia. Retrieved July 24, 2018 from http://www.thansettakij.com/ content/258812
Wangsai, C. (2017). Food will keep us alive. In Tourism Authorization of Thailand [TAT](Ed.), Foodie-food tourism trend 2017.TAT review, 3(1), 61-65.